Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร - Coggle Diagram
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร
Vasa previa
อาการและอาการแสดง
ก่อนถุงนํ้าครํ่าแตก
ตรวจภายในพบเส้นเลือด คลําพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ
ตรวจ U/S ชนิด color Doppler
เสียงหัวใจทารกอาจเปลี่ยนแปลง
หลังถุงน้ำคร่ำแตก
มีเลือดสดไหลออกจากช่องคลอดในขณะที่ถุงนํ้าครํ่าแตก
หลังถุงนํ้าแตกพบภาวะ fetal distress ทันที
การรักษา
กรณีวินิจฉัยได้ก่อนคลอดหรือถุงน้ําครํ่าแตก ให้ผ่าตัด คลอดทางหน้าท้อง ในช่วง GA 34-37 wks. โดย U/S ติดตาม
กรณีวินิจฉัยได้หลังถุงน้ําแตกแล้ว สิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทันทีโดยวิธี C/S หรือใช้ F/E กรณีปากมดลูกเปิดหมด แล้ว
หากทารกเสียชีวิตแล้วให้คลอดทางช่องคลอด
Uterine rupture ภาวะมดลูกแตก
แบ่งได้2 ชนิด
มดลูกแตกแบบสมบูรณ์ (Complete uterine ruptured)
มดลูกแตกบางส่วน (Incomplete uterine ruptured)
สาเหตุ
ผนังมดลูกอ่อนแอ
คลอดติดขัดจากทารกอยู่ในท่าหรือทรงที่ผิดปกติ
มดลูกแตกระหว่างการทําหัตถการ
ใช้ยากลุ่มOxcytocinไม่ถูกต้อง
เบ่งคลอดก่อนปากมดลูกเปิดหมด
ภาวะแทรกซ้อน
การตกเลือดทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด
ติดเชื้อ
ทารกขาดออกซิเจน
อัตราตายของมารดาเพิ่มขึ้น สัมพันธ์กับการเสียเลือด
อัตราการตายปริกําเนิดสูงถึงร้อยละ 50-75
อาการและอาการแสดง มดลูกใกล้แตก
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง ไม่คลาย
มีอาการปวดบริเวณเหนือหัวเหน่า ตรวจพบ bandl’s ring
อาจมีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ หรือ คลื่นไส้อาเจียน
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติหรือฟังไม่ได้
ตรวจภายในพบปากมดลูกบวมอยู่อยู่สูงขึ้นเนื่องจากถูกดึงรั้ง ศีรษะทารกมี caput succedaneum
อาจพบเลือดสดไหลออกทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดงภาวะมดลูกแตก
ปวดและกดเจ็บมดลูกบริเวณหัวหน่าว
มีเลือดสดไหลออกทางช่องคลอด
ท้องโป่งตึงรู้สึกอึดอัดและปวดท้องอย่างรุนแรง
อัตราการเต้นหัวใจของทารกผิดปกติหรือฟังไม่ได้
มดลูกหยุดการหดรัดตัวทันทีหลังจากมีการหดรัดตัวรุนแรง ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
มีภาวะ hypovolemic shock
มีอาการหายใจลําบากเจ็บหน้าอกร้าวไปที่ไหปลาร้าขณะหายใจเข้า
การรักษาภาวะ
มดลูกใกล้แตก
แก้ไขภาวะ shock
สิ้นสุดการคลอดด้วยการผ่าตัดทาง
หน้าท้อง
ภาวะมดลูกแตกแล้ว
แก้ไขภาวะ shock หยุดเลือด และ IUR ทารกใน ครรภ์
สิ้นสุดการคลอดด้วยการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง
การพยาบาลเ
NPO, ให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา
ดูแลให้ได้รับเลือดทดแทนและออกชิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 5-10 นาท
ประเมินอาการแสดงของการตกเลือดและอาการแสดงของภาวะช็อก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจของทารกอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสําหรับการผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อภายในช่องท้อง
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
ปลอบโยน ให้กําลังใจผู้คลอดและครอบครัวและเปิดโอกาสให้พูดแสดงความรู้สึก หรือซักถามในกรณีที่สูญเสียบุตร
Precipitate Labor
สาเหตุ
ช่องทางคลอดหย่อนจากการผ่านการคลอดบุตรมาหลายครั้ง
มดลูกหดรัดตัวแรงผิดปกติ
ทารกตัวเล็ก
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกในปริมาณที่มากเกินไป
ผลกระทบ
ผลกระทบด้านมารดา
การฉีกขาดของช่องทางคลอดมากกว่าปกติ
Abruptio placenta
Postpartum Hemorrhage
Amniotic fluid embolism
ผลกระทบด้านทารก
Fetal distress
เลือดออกในสมอง
สายสะดือขาด
สําลักนํ้าคร่ำ กรณีทารกคลอดออกมาท้ัง ถุงนํ้าคร่ำ (caul delivery)
การพยาบาล
แนะนําเรื่องการสังเกตอาการเจ็บครรภ์และอาการนําเข้าสู่ระยะคลอด หากมีอาการให้รีบมา โรงพยาบาลทันที
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและเสียงหัวใจของทารกอ
แนะนําเทคนิคการหายใจเพื่อชะลอแรงเบ่งของมารดา
เตรียมอุปกรณ์การทําคลอดให้พร้อมใช้
กรณีที่ทารกคลอดออกมาทั้งถุงนํ้าครํ่า อย่ารีบกระตุ้นการหายใจของทารก
หลังคลอดติดตามการฉีกขาดของช่องทางคลอด การตรวจร่างกายทารก
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา