Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การทำงานของระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีรัฐบาล, 62102975 นางสาว ณัฐธิดา…
บทที่ 6 การทำงานของระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีรัฐบาล
ทำไมต้องรัฐบาล
มีสินค้าที่จำเป็นต่อการบริโภคแต่ผู้ผลิตไม่อยากผลิตเพราะผลิตแล้วจะไม่สามารถเก็บเงินจากผู้บริโภคได้ เช่น การป้องกันประเทศ
สินค้าที่ผลิตแล้วสร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น เช่น การปล่อยน้ำเสียจากโรงงาน การปล่อยฝุ่นละอองจากโรงงานถ่านหิน การใช้ยาฆ่าแมลงในสวนผลไม้ เป็นต้น
สินค้าที่โฆษณาเกินจริง ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อ เช่น ยาลดความอ้วน
ความล้มเหลวของตลาด
สินค้าที่มีผลกระทบภายนอก
(ทาง -) ภาษีสิ่งแวดล้อม
(ทาง +) การฉีดวัคซีน อุดหนุนการศึกษา
สินค้าที่มีลักษณะผูกขาดโดยธรรมชาติ
ไฟฟ้า ประปา
สินค้าสาธารณะ
การป้องกันประเทศ การดูแลความสงบเรียบร้อย
สินค้าที่ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีข้อมูลไม่เท่ากัน
การโฆษณาเกินจริงของยาและอาหารเสริม
การแทรกแซงของรัฐบาล
Positive
ความล้มเหลวของตลาด
การผลิตและการบริโภคสินค้าเกินความเหมาะสม
ตลาดละเลยการผลิตและการบริโภคสินค้าที่เป็นโทษ เช่น เหล้า บุหรี่
Negative
การบิดเบือนตลาด
การใช้จ่ายของรัฐบาล
รายจ่ายเพื่อการบริโภค หรืองบประจำ เช่น เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าซื้อสินค้าและบริการ (ค่าวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ค่าใช่สอย และค่าสาธารณูปโภค)
2.รายจ่ายเพื่อการลงทุน หรืองบลงทุน เช่น การก่อสร้างถนน เขื่อนชลประทาน รถไฟ รถไฟฟ้า
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการใช้จ่ายของรัฐบาล
1.รายได้ของรัฐบาล ได้แก่ ภาษี รายได้นำส่งจากรัฐวิสาหกิจ อื่นๆ
2.นโยบายการคลังของรัฐบาล ได้แก่ นโยบายการคลังแบบขยายตัว นโยบายการคลังแบบสมดุล และนโยบายการคลังแบบหดตัว
รายได้ของรัฐบาล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล เก็บจากรายได้ของบริษัท
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีที่ผลักภาระได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นแบบขั้นบันไดในอัตราก้าวหน้า
ภาษีสรรพสามิต “ภาษีบาป” เช่น สุรา เบียร์ ยาสูบ และสินค้าฟุ่มเฟือย
รัฐบาลกับการก่อหนี้ของประเทศ
หนี้สาธารณะ
หมายถึง
การกู้ยืมของรัฐบาลเมื่อรัฐบาลมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายจึงจำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่าย เมื่อรัฐบาลยืมเงินเข้ามาก็จัดเป็นรายรับของรัฐบาลและเมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระรัฐบาลก็ต้องตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายเพื่อชำระหนี้
62102975 นางสาว ณัฐธิดา แก้ววิจิตต์