Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ, 22_06_2556_sek, elderly-mental-health-2,…
กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
1.1 ปัจจัยภายใน
1) ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย
มีโรคภัยต่างๆมากขึ้น
สุขภาพเสื่อมโทรม
2)ปัญหาทางด้านจิตใจ
กังวลว่าจะไม่ได้รับควาอบอุ่นจากครอบครัวเพียงพอ
มีความรู้สึกหว่าเว้ อ้างว้าง
3) ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
ความเชื่อ วัฒนธรรมที่อยู่ในยุคตน เปลี่ยนแปลง
การเลี้ยงดู ดูแลพ่อแม่แบบชาติตะวันตก
การให้อยู่ที่บ้านพักคนชรา
ต่างคนต่างอยู่
1.2 ปัจจัยภายนอก
1) ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
ผู้สูงอายุที่มีฐานะไม่ดี รายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยง
อาจจะไม่มีที่อยู่อาศัยทำให้ได้รับความลำบาก
ไม่มีลูกหลานดูแลอุปการะเลี้ยงดู
2) ปัญหาทางด้านความรู้
ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้ ในการพัฒนาตัวเอง
เข้าใจในการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ยาก
4)ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ความเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น
ลูกหลานแยกย้ายอยู่คนละครอบครัว
แยกครอบครัว=ขาดความรักความอบอุ่น
อยู่อย่างโดดเดี่ยว
3)ปัญหาทางด้านสังคม
ไม่ได้รับการยกย่องจากสังคมเหมือนเดิม
อำนาจ และตำแหน่งที่เสียไป
ทัศนคติต่อคนรุ่นใหม่ที่มองว่าผู้สูงอายุล้าสมัย
การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
2.3 การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม (Sociology change)
1.สภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุ
1) การเกษียณอายุ
ซึ่งมีผลทำให้ผู้สูงอายุ สูญเสียรายได้ สูญเสียบทบาท สูญเสียสถานะทางสังคม สูญเสียเปูาหมายของชีวิต และสูญเสียการติดต่อ สัมพันธ์กับคนในระดับเดียวกัน
2) การเสียชีวิตของเพื่อนสนิท
ทำให้เกิดการสูญเสียหุ้นส่วนของชีวิต คุกคาม ต่อความตาย และสูญเสียกิจกรรมทางสังคม
3) การเป็นหม้าย
ทำให้สูญเสียผู้ให้ความช่วยเหลือ สูญเสีย หุ้นส่วนของชีวิต สูญเสียคู่ครองทางเพศสัมพันธ์ รู้สึกว่างเปล่า โดดเดี่ยว โศกเศร้า
4) การย้ายกลับภูมิลำเนาเดิม
ทำให้เกิดการสูญเสียพื้นที่ส่วนตัว เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อนใหม่ และต้องจากเพื่อน
5) การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสีย ความสามารถในการทำหน้าที่ของตนเองเกิดผลข้างเคียงจากการรักษา พึ่งพาผู้อื่น สูญเสียเงินทอง และสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว
6) การถูกจัดประเภทเป็นผู้สูงอายุ
ทำให้ผู้สูงอายุ ลดคุณค่าของตนเอง ทัศนคติในแง่ลบกับการสูงวัย ความคาดหวังลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น เกิดมายาคติกับความสูงวัย และเกิดความ เสื่อมถอยในชีวิต
2.2 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ (Psychological change)
ศักยภาพด้านการแสดงออกทางอารมณ์ Affective functioning
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (self esteem
ความร้สูึกทบ่ีคุคลรบัรวู้า่ตนเองมีคุณค่า นำไปสู่ความเชอ่ืมนั่ใน ตนเอง และการยอมรบันบัถอืตนเอง
2-บุคลิกภาพ (Personality)
บุคลิกภาพไมเ่ปลี่ยนแปลงตามกระบวนการสงูอายุ
บคุลกิภาพจะมั้นคงและเพิ่มมากขึ้นตามอายุเพิ่มขึ้น
การเปลย่ีนแปลงบคุลกิภาพเป็นผลจากการเปลย่ีนแปลงอัตมโนทัศน์ การตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปในวยัสงุอายุ
3-ภาวะซึมเศร้า
แบบแผนการนอน เปลย่ีนแปลง, ขาดความสนใจในสิ่งแวดล้อมกับิ่งที่เคยทำ , พักผ่อนไม่ได้, รู้สึกผิด , ขาดพลังงาน , ความสนใจในสิ่งต่าง ๆ ลดน้อยลง , ความรสู้กึอยากอาหารลดลง
มักมองตนเองในด้านลบ มองตัวเองในด้านต่ำลง
ศักยภาพด้านการเรียนรู้Cognitive functioning
1-ความฉลาด (Intelligent) ุ
ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ผ่านกระบวนการคิดเพื่อหาคำตอบได้หลากหลายวิธี
ความฉลาดลดลงเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น
สามารถควบคุมสถานการณ์ต่างๆได้รวมถึงความเครียด
ความจำ
ความจำเรื่องราวปัจจุบัน
สามารถจำเรื่องราวต่างๆที่ได้รับรู้มาไม่นาน
ลดลงเมื่ออายุมากขึ้น
ความจำเรื่องราวในอดีต
เรื่องราวที่ผ่านมาหลายๆปี
ไม่เปลี่ยนแปลงเม่อมีอายุมากขึ้น
การเรียนรู้
การได้รับรู้พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงพอใจที่เป็นสิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่
การเรียนรู้ของบุคคลจะเริ่มสูญหายไปหรือเริ่มลดลงตอนอายุประมาณ 40-50 ปี และจะลดลงอีกเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งจะลดลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ สติปัญญา การศึกษา แรงจูงใจ ความตั้งใจ การส่งหรือรับข้อมูล
ช่วงความสนใจ
ความสามารถในการตั้งใจ ในการเรียนรู้มากกว่า 45 นาที
ความพรอ่งในการคงไวซ้ง่ึความตั้งใจ จะสง่ผลกระทบต่อการเรยีนรู้ละ ความจำ
2.1 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบผิวหนัง
กระบวนการผิวช้า
ผิวหนังบางลง การผลัดเซลล์ผิวใช้เวลานาน
กระบวนการฟื้นฟูแผลช้า
การเจริญของขนและผมลดลง
การผลิตสารต่างๆลดลง
สีผิวจางลง
เมลานินลดลง มีความเข้าสีผมลดลง
เซลล์ผิวหนังลดลงความยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี
ผิวหนังเหี่ยวและมีรอยย่น
ต่อมเหงื่อเสียหน้าที่
่ไม่สามารถขับเหงื่อได้จึงเกิดอาการลมแดดได้ง่าย
ผิวหนังแห้งและแตกง่าย
ระบบประสาทและประสาทสัมผัส
ระบบประสาทอัตโนมัติ
การตอบสนองของระบบประสาท
อัตโนมัติช้าลง
ระบบประสาทสัมผัส
เวลานอนน้อย เวลาตื่นมากขึ้น
การมองเห็นเริ่มไปในทางที่ไม่ดี,ลดลง
ระบบการได้ยินลดลง
ระบบประสาทสัมผัสทั้ง5ทำงานได้ลดลง
ระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบการสั่งการ (Motor)
รับความรู้สึก (Sensory)
การตอบสนอง (Reflexes) ลดจำนวนลง
ปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งต่างๆลดลง
ความคิดเชื่งช้า
การเคลื่อนไหวมีประสิทธภาพลดลง
เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
ความจำเสื่อมโดยเฉพาะเรื่องราวใหม่ๆ
จำเรื่องราวเก่าๆได้ดี
ความกระตือรือล้นน้อยลง ความคิดอาจสับสน
ระบบประสาทส่วนกลาง
ขนาดและจำนวนของเซลล์ประสาทลดลง
การตายของเซลล์ประสาทและสมองมากขึ้น
สูญเสียการเชือมต่อของประสาท
ขนาดของสมองลดลง
น้ำหนักสมองลดลง
ประมาณร้อยละ 20 เมื่ออายุ 90 ปี
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
จำนวนเส้นใยและกำลังการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง
การเคลื่อนไหวมีลักษณะไม่คล่องตัว
แคลเซียมสลายออกจากกระดูกมากขึ้น
้กระดูก เปราะและหักง่ายความยาวของกระดูกสันหลังลดลงหมอนรองกระดูกบางลง
หลังค่อมมากขึ้น
ความสูงและน้ำไขข้อลดลง
เกิดการตึงและการอักเสบติดเชื้อได้ง่ายทีข้อ
ระบบการไหลเวียนเลือด
ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
หัวใจอาจโตขึ้น
ลิ้นหัวใจแข็งและหนาขึ้น ผนังหัวใจหนาขึ้น
้เกิดภาวะลิ้นหัวใจรั่วและตีบได้
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในเวลา 1 นาทีลดลงประมาณ 1% ต่อปี
มีภาวะลิ้นหัวใจรั่วและตีบ
ผนังหลอดเลือดมีแคลเซียมและไขมันมาเกาะมากขึ้น
เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งตัวและความดันโลหิตสูงขึ้น
หลอดเลือดฝอยไม่สมบูรณ์เกิดรอยฟกช้ำง่าย
ปริมาณเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลงเป็นผลให้ เกิดการตายและการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ได้
ระบบทางเดินหายใจ
ความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง
ผนังถุงลมแตกง่ายจงเกิดโรคถุงลงโปุงพองได้
ร่างกายได้รับออกซิเจนลดลง
เยื่อหุ้มปอดแห้งการขยายและการหดตัวของปอดลดลง
การไหลเวียนเลือด ในหลอดเลือดฝอยที่ถุงลมไม่ดีท าให้การแลกเปลี่ยนก๊าซภายในปอดลดลง
รีเฟล็กการหายส่วนบนทำงานได้ไม่ดี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากการทำงานของระบบทางเดิน อาหารลดลง
O : ตรวจพบฟัน 5 ซ่ี่
ขย้อนอาหารหรือสำลักอาหารบ่อยๆ
ใช้แบบประเมิน MNA พบคะแนนมีความเสี่ยงต่อการเกิดทุพโภชนาการ
S : ผู้สูงอายุบ่นว่า “รู้สึกอยากอาหารลดลง”
“ฟ๎นไม่มีเคี้ยวอาหารลำบาก” “รับประทาน อาหารไม่อร่อย”
เป้าหมายการพยาบาล ไม่เกิดภาวะทุพโภชนาการ
กิจกรรมการพยาบาล
เลือกอาหารที่ผู้สูงอายุพอรับประทานได้ กลิ่น/รส ไม่จัด เช่น ขนมป๎งกรอบ ให้เป็นอาหารว่าง
เครื่องดื่มควรเป็นชนิดให้พลังงาน เช่น นม น้ำเต้าหู้ น้ำผลไม้
น้ำหวาน หลีกเลี่ยงอาหารมันและทอด แบ่งมื้ออาหารเป็น 5-6 มื้อ โดยเพิ่มมื้อสายและเย็น
เตรียมอาหารให้สุก อ่อนนุ่ม เช่น หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ นึ่งหรือตุ๋น ผักหรือผลไม้อาจป๎่น บดให้ละเอียด หลีกเลี่ยงอาหารแห้ง เช่น ข้าวเหนียว ขนมป๎งกรอบ ให้อาหารเสริมทางการแพทย์ หรือไอศครีม
กรณีที่มีภาวะปากแห้งลิ้นแห้ง เลือกอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม หลีกเลี่ยงอาหารแห้ง ใช้น้ำเกลือกลั้วปากและคอ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพลัดตกหกล้ม หรืออุบัติเหตุเนื่องจากการมองเห็นลดลง
O : ตรวจร่างกายพบลานสายตาแคบ
กล้ามเนื้อลูกตาเสื่อมความไวในการมองภาพลดลง
S : มองเห็นภาพไม่ชัดเวลาขับรถ หรือช่วงกลางคืน
เป้าหมายการพยาบาล ปลอดภัยจากอุบัติเหตุภายในบ้าน การพลัดตกหกล้มหรือรถยนต์
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการมองเห็นผู้สูงอายุจะมีรูม่านตาขนาดเล็กลงปฏิกิริยาต่อแสงลดลง แยกสีได้ยากขึ้น มองเห็นภาพระยะใกล้ไม่ชัด ดังนั้นจะต้องมีการประเมินการมองเห็นของผู้สูงอายุโดยการประเมินการมองเห็น สามารถ ใช้เครื่องมือในการประเมินทั่วไปคือ snellen chart/E-chart
2.ปรับโดยเริ่มจากพื้นบ้านที่จะต้องปรับพื้นลื่นให้มีความหยาบเพื่อป้องกันการลื่นล้ม และมี สัญลักษณ์ แสดงพื้นต่างระดับโดยสีของสัญลักษณ์จะต้องเป็นสีที่ผู้สูงอายุมองเห็นชัดเจนคือ สีแดง เขียว เหลือง จัดบ้านและ อุปกรณ์ต่างๆภายในบ้านให้เป็นระเบียบไม่กีดขวางทางเดินโดยเฉพาะบันได