Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท - Coggle Diagram
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท
ปวดศีรษะ (Headache)
Tension Headache
อาการ
รู้สึกเหมือนมีเชือกมารัด
กล้ามเนื้อของคอด้านหลังแข็งตึง
ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆลงๆ
อาการอยู่ต่อเนื่องหลายวัน
ปัจจัยกระตุ้น
ความอ่อนล้า
ความเครียด
Cluster Headache
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
บางครั้งจัดอยู่ในกลุ่ม Migraine
อาการ
ปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆ
อาการปวดอยู่นานตั้งแต่ 15 นาที ถึง 3 ชั่วโมง
ปวดเป็นแบบปวดลึกๆน่ารำคาญ
อาจมี Honner’s sysdrome
อาการจะมากขึ้น เมื่อดื่มแอลกอฮอล์
การรักษาและการดูแล
ให้ยา Prednisone, Lithium methysergide, Ergotamine และ Verapamil
การให้ออกซิเจน mask 9 liter/min
หยอด Lidocaine ชนิด 4% topical
Migraine Headache
สาเหตุ
เกิดจากหลอดเลือดหดตัวทำให้ขาดเลือดขึ้นไปสมอง
ปัจจัยกระตุ้น
ยาลดความเครียด
การอดอาหาร
กินอาหารที่มีสาร Tyramine
อาการ
ปวดศีรษะข้างเดียว
ปวดแบบตุ๊บๆ และเห็นเส้นเลือดเต้น
กลัวแสง เสียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
อาการเตือนทางตามาก่อนปวดศีรษะ 20 นาที เช่น เห็นแสงวูบวาบ
การรักษาและการดูแล
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ ไม่มีแสงมาก
ให้ยา Aspirin หรือ Paracetamol
หากไม่ได้ผล พิจารณาให้ยา Butalibital, Caffeine, Ibuprofen
Ergotamine ทางทวารหนัก
Dihydroergotamine ทางหลอดเลือดดำ
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง
ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมอง ระหว่างคลอด
ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ เช่น ภาวะขาดออกซิเจน น้ำตาลในเลือดต่ำ
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
การชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
การชักเฉพาะที่และไม่หมดสติ
อาการผิดปกติของการเคลื่อนไหว (Motor manifestation) : กระตุกที่ใดที่หนึ่ง
อาการผิดปกติของการรับรู้ (Somatosensory manifestation) : ชา เจ็บ เห็นแสงวูบวาบ
อาการผิดปกติของการเคลื่อนไหวอัตโนมัติ (Autonomic manifestation) : แน่นท้อง ใจสั่น เหงื่อออก
อาการผิดปกติของจิตใจ (Psychic manifestation) : ได้กลิ่น เสียงแปลกๆ
การชักเฉพาะที่แบบซับซ้อน
การชักเฉพาะที่ร่วมกับการเคลื่อนไหวที่ไม่รู้สึกตัว
การชักเฉพาะที่นำไปสู่การชักทั้งตัว
การชักทั้งตัว (Generalized seizure)
Absence seizure
Myoclonic seizure
Tonic seizure
clonic seizure
Tonic – Clonic seizure
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับการชัก
การตรวจพิเศษ
Electroencephalography (EEG)
CT Scan
MRI
การรักษา
การป้องกันอันตรายระหว่างชัก
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา
การผ่าตัด (25%)
ภาวะชักอย่างต่อเนื่อง (Status Epilepticus)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการหยุดยาต้านการชักกะทันหัน
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังอันตรายที่เกิดจากการชัก
ให้ยาต้านการชัก เช่น Diazepam 5 – 10 mg, Lorazepam 4 mg, Phenytoin 15 – 18 mg/Kg