Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อกำจัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ - Coggle…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อกำจัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่1 บททั่วไป
ข้อ 4 กำจัดบทความ
การรักษาโรคเบื้องต้น =กระบวนการวินิจฉัยการรักษาโรค การบาดเจ็บ การป้องกัน และการปฐมพยาบาลเพื่อแก้ปัญหา อาการของโรคบรรเทาความเจ็บป่วย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน = การได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกระทันหัน เป็นภัยต่อการดำรงชีวิต เป็นภัยต่อการทำงานของอวัยวะสำคัญ จำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการบำบัดรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต = การเจ็บป่วยที่รุนเเรที่อาจส่งผลถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
การปฐมพยาบาล = การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่บาดเจ็บหรือผู้เจ็บป่วย ดูแลเพื่อบรรเทาอาการ เพื่อส่งเสริมการหาย
การให้ภูมิคุ้มการ = กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้าง หรือมีภูมิต้านทานต่อโรค โดยการให้วัคซีน
หมวดที่2 การประกอบวิชาชีพพยาบาล
การพยาบาล
ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องให้ยาตามที่ที่แพทย์ระบุไว้
6.1ห้ามให้ยาหรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง
6.2 ห้ามให้ยาหรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสี
6.3 ห้ามให้ยา หรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ ได้แก่ กลุ่มสารละลายทึบรังสี กลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ข้อ 7 ในกรณีที่การกระทำพยาบาลเป็นปัญาหายุ่งยากซับซ้อนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้น2และผู้ประกอบการพยาบาลวิชาชีพและการผดุงครรภ์ชั้น2ต้องทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้น1และผู้ประกอบการพยาบาลวิชาชีพและการผดุงครรภ์ชั้น1
ข้อ 5 ผู้ประกอบพยาบาลวิชาชีพชั้น1และผู้ประกอบวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.1ส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู
5.2สอน แนะนำ ให้คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาสุขภาพ สร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเอง
5.3จัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
5.4ปฏิบัติตามแผนการพยาพยาบาลหรือตามที่หมอสั่ง ประานทีมสุขภาพในการจัดบริการให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาล
5.5ให้การพยาบาลที่บ้าน ่งเสริม ความสามารถของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น2 สามารถให้ยาทา ยากิน ยาพ่นได้ตามแผนการรักษา
การทำหัตถการ
ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพชั้น 1 ทำการพยาบาลหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
9.2 ผ่าฝี ผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม ผ่าตัดตาปลา เลาะก้อนใต้ผิวหนัง ที่ไม่อันตรายต่ออวัยวะสำคัญ ใช้ยาระงับความรู้สึกได้ฉีดยาชาเฉพาะที่ให้ได้
9.1 พยาบาลทำแผลตกแต่งแผลเย็บแผลได้ไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนังและไม่อันตรายต่ออวัยวะสำคัญ
9.3 ถอดเล็บ จี้หูด จี้ตาปลา สามารถให้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือฉีดยาชาเฉพาะที่ได้
9.4 ให้ออกซิเจน
9.5 ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤต มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค ให้แผนการรักษาได้ทันที
9.6 ให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดำ ได้ตามแผนการรักษาที่หมอสั่ง หรือตามสภากำหนด
9.7 พยาบาลให้เลือดตามแผนการรักษา
9.8 เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการดูดเสมหะ หรือเคาะปอด
9.9ช่วยฟื้นคืนชีพแก็ปัญหาวิกฤตของผู้ป่วย
9.10 เช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา ล้างจมูกได้
9.11 ใส่สายยางลงในกระเพาะได้เพื่อให้อาหารเเละยา หรือเพื่อล้างกระเพาะ ตามแผนการรักษา
9.12 เปลี่ยนสวนปัสสาวะในรายที่ไม่มีความผิดปกติของระบบทางงเดินปัสสาวะ
9.13 สวนทวารหนักในรายที่ไม่มีข้อบ่งชี้อันตราย
9.14 การดามการใส่เฝือกชั่วคราวทำได้
9.15ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.16 เจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดำส่วนปลายหรือปลายนิ้วเพื่อส่งตรวจ
9.17 หัตถการอื่นตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
ข้อ12ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น1 ต้องทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาล
12.1ตรวจวินิจฉัยบำบัดโรค ตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
12.2ส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาบำบัดจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่นหากพิจารณาเเล้วอาการคนไข้ไม่บรรเทา
ข้อ13 ผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์ชั้น 1 ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาสามารถให้ยาตามคู่มือการใช้ยาตามที่สภากำหนด
ข้อ11 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น1ผ่านการอบรมตามหลักสูตรสภาการพยาบาล
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง เช่นสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป
11.2ได้รับหนังสืออนุมัติ หรือคุณวุฒิตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
11.3สามารถทำการพยาบาล รักษาโรคเบื้องต้น หัตถการในสาขาที่ผ่านการศึกษา ฝึกอบรม
ข้อ14 ผู้ประกอบวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์ชั้น 1 ต้องปฏิบัติตามเเนวทางการให้ภูมิตุ้มกันโรคตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 10ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์ชั้น1ให้การรักษาโรคเบื้องต้น และให้ภูมิคุ้มกันโรค
เช่น ไข้ตัวร้อน ท้องผูก อาหารเป็นพิษ
ข้อ15ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติผู้ป่วย ผู้รับบริการ อาการ การเจ็บป่วย โรค การพยาบาล วันเวลาในการให้การบริการ ชื่อผู้ประกอบวิชาชีพ ตามความเป็นจริง บันทึกไว้เป็นหลักฐาน5ปี
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 2 ระยะคลอด
ข้อ22ช่วยเหลือแพทย์ในการทำคลอดในรายที่คลอดผิดปกติ
ข้อ23 ห้าม เจาะน้ำคร่ำ ห้ามทำคลอดที่มีความผิดปกติ ห้ามล้วงรก ห้ามกลับท่าทารกในครรภ์ ห้ามใช้มือกดท้องในการช่วยคลอด ห้ามเย็มฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ3 ห้ามทำแท้ง
ข้อ21 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 24 ทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในกรณีที่หาแพทย์ไม่ได้เเละเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกแต่ห้ามใช้คีมสูงกรือใช้เครื่องสูญญากาศในการทำคลอด หรือผ่าตัดคลอดหรือให้ยารัดมดลูกก่อนคลอด
ข้อ 20 ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ระยะก่อนคลอด ประเมินมารดา ประเมินทารก ประเมินความก้าวหน้าในการคลอด
ข้อ25 รักษาอาการตกเลือดตามความจำเป็น
ข้อ19 สามารถที่ทำการผดุงครรภ์ได้เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ คลอดอย่างปกต
ส่วนที่ 1 ระยะก่อนตั้งครรภ์และระยะตั้งครรภ์
ข้อ17แนะนำส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจรักษากับแพทย์ ตามเกณฑ์การฝากครรภ์
ข้อ 18 ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการรักษากับแพทย์หรือส่่งต่อโรงพยาบาลที่มีความพร้อมเพื่อความปลอดภัยต่อมารดาและทารก
ข้อ16ให้การผดุงครรภ์แก่หญิง ครอบครัวที่ต้องการมีบุตรตามกระบวนการ
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาและทารก
ข้อ33 ผู้ประกอบวิชาชีพและการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น2ให้การวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์ เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด ถุงยางอนามัย วงแหวนคุมกำเนิด แผ่นแปะคุมกำเนิด
ข้อ32 สามารถทำการคัดกรองมารดาทารก ทำการ Pap smear ประเมินภาวะสุขภาพของทารก
ข้อ34 ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคตามมที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ35 ผู้ประกอบผดุงครรภ์ชั้น2 ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ31 สามมารถกระทำการพยาบาล วางแผนครอบครัวได้ ให้คำปรึกษาได้ ให้บริการวางแผนครอบครับเเบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ29 บันทึกรายงานเกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ ให้การบริการตามความจริง
ข้อ26 ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิดป้องกัยภาวะเเทรกซ้อน
ข้อ27 ใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตาหรือป้านตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 30 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น2ห้ามกระทำการยุ่งยากซับซ้อนกับผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น1
ข้อ28 ประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ ความพิการทาารกแรกเกิดให้มารดาได้สัมผัสโอบกอดทารกเริ่มให้ดูดนมจากมารดาภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด