Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษีอากร, สำหรับเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5, สำหรับเงินได้พึงประเมินประเภ…
ภาษีอากร
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร
ประมวลรัษฎากร
ประเภทที่ 2 ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ประเภทที่ 3 ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ประเภทที่ 1 ภาษีเงินได้
ประเภทที่ 4 อากรแสตมป์
โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร
1) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากร
2) ฐานภาษีอากร
( ภาษีอากรที่ต้องเสีย = ฐานภาษีอากร x อัตราภาษีอากร )
3) อัตราภาษีอากร
แบบคงที่
แบบก้าวหน้า
แบบก้าวหน้า
4) การประเมินจัดเก็บภาษีอากร
5) การอุทธรณ์ภาษีอากร
6) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และโทษ
บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
1)
บุคคลธรรมดา
1) กรณีสามีและภรรยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้
สามีและภรรยาต่างฝ่ายคำนวณเงินได้ตามส่วนของตน
สามีและภรรยาคำนวณเสียภาษีรวมกัน
2) กรณีเป็นเงินได้ที่ไม่อาจแยกได้อย่างชัดแจ้ง
แบ่งฝ่ายละครึ่ง
เฉพาะเงินได้ประเภทที่ 8 จะแบ่งเงินได้เป็นของแต่ละฝ่ายตามส่วนที่ตกลงกันได้
2) ห้างหุ้นส่วนสามัญ
บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทำกิจการร่วมกันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3) การเข้าถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินร่วมกัน
4) การเข้าร่วมกันของแพทย์เพื่อทำกิจการรักษาคนไข้
2) การเข้าร่วมกันซื้อหุ้น
5) การเข้าร่วมกันของนักแสดงพิธีกร
1) การเข้าร่วมกันเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร
3) ผู้ถึงแก่ความตาย
กรณีถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี คือวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ยื่นรายการแทนผู้ตาย ( มาตรา 57 ทวิ )
4) กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
กองมรดกได้ก่อให้เกิดเงินได้พึงประเมินถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่ประมวลรัษฎากรกำหนดไว้ ( มาตรา 57 ทวิ วรรคสอง )
เงินได้พึงประเมิน
ประเภทที่ 2
เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงาน
ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด
เงินอุดหนุนในงานที่ทำ
ประเภทที่ 1
เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง
เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส
ประเภทที่ 3
ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์
ประเภทที่ 4
ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ เงินปันผล
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 5
เงินหรือประโยชน์อย่างอื่น
ประเภทที่ 8
สำหรับเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5
1) การให้เช่าทรัพย์สิน
หักตามความจำเป็นและสมควร
หักเป็นเหมาในอัตรา
เป็นบ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ร้อยละ 30
ที่ดินที่ใช้การเกษตรกรรม ร้อยละ 20
สำหรับเงินได้พึงประเมินประเภท 1 และ 2
เงินได้สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ไม่เกิน 100,000 บาท
ให้ต่างฝ่ายต่างหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 50 แต่ไม่เกินฝ่ายละ 100,000 บาท
สำหรับเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3
หักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร
หักเป็นการเหมาในอัตราร้อยละ 50 แต่ไม่เกิน 100,000 บาท