Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของหลักสูตร - Coggle Diagram
ประเภทของหลักสูตร
- หลักสูตรแบบแกนกลาง หรือหลักสูตรแบบแกนร่วมกัน
-
เป็นหลักสูตรที่ผสมผสานเนื้อหาวิชาต่างๆ ที่ใกล้เคียงเข้าอยู่เป็นหมวดหมู่เดียวกัน แต่เน้นวิธีการแก้ปัญหา
หลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum) เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษา ปฏิรูปนิยม ที่ประสานสัมพันธ์เนื้อหาวิชาต่างๆ เข้าด้วยกัน
หลักสูตรประสบการณ์ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเนื่องจากนักศึกษามีความเชื่อว่า นักเรียนควรเป็นจุด ศูนย์กลางของการเรียนการสอน
จัดขึ้นเพื่อสนองความต้องการของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนเจริญงอกงามในทุกๆ ด้าน และสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง ของการดำรงชีวิต
-
- หลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรเนื้อหาวิชา
หลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรเนื้อหาวิชา เป็นหลักสูตรที่ใช้กันมาตั้งแต่ดั้งเดิม โดยโครงสร้าง เนื้อหาวิชาในหลักสูตร จะถูกแยกออกจากกันเป็นรายวิชาโดยไม่จำเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกัน
-
-
- หลักสูตรสหสัมพันธ์หมวดวิชาแบบกว้าง
-
ยึดหลักการสัมพันธ์หรือความ ใกล้เคียงของเนื้อหาและจุดมุ่งหมายรวมเป็นหมวดวิชาใหญ่ เช่น หมวดวิชาภาษา จะรวมเอาภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศเข้าด้วยกัน
-
-
หลักสูตรเนื้อหาวิชา ได้รับการพัฒนาเป็นหลักสูตรหมวดวิชา โดยการรวมวิชาย่อย ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันผสมผสานในด้านเนื้อหาเข้าเป็นหมวดหมู่
ความหมายของหลักสูตรแฝง คือ เป็นหลักสูตรที่แฝงซ่อนเร้น ไม่เปิดเผย และไม่ได้มุ่งศึกษาโดยตรง เพราะถือว่าเป็นหลักสูตรที่ไม่เป็นทางการ เช่น การปลูกฝันคุณธรรม จริยธรรม
- หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม เป็นหลักสูตรที่มุ่งแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรที่ผ่านมาด้วย การรวบรวมความรู้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยยึดกิจกรรมต่าง ๆ ของคนไทยเป็นหลัก
เตรียมผู้เรียนให้ร่วมมือกับสังคม เพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับหน้าที่ทางสังคม กระบวนการทางสังคม หรือ ปัญหาทางสังคม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจจัดเป็นหน่วยหรือรายวิชา เรียนในสิ่งที่ใกล้ตัวก่อน หรือจากสิ่งที่ง่ายไปสู่ สิ่งที่ยาก เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
-
เป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจากหลักสูตรกว้างโดยนำเอาเนื้อหาของวิชาต่างๆ มาหลอมรวม ทำให้เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละวิชาหมดไป
-
- ลักษณะของหลักสูตรบูรณาการที่ดี
-
-
-
9.หลักสูตรเกลียวสว่าน
หลักสูตรเกลียวสว่าน เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาเดียวกันทุกระดับ แต่ในเเต่ละระดับจะมีความยากง่าย ความลึกซึ้งต่างกันออกไป เช่น การเรียนในระดับต้นๆ จะได้เรียนแค่เนื้อหาพื้นฐาน ง่ายๆ แต่ถ้าเรียนใน ระดับสูงขึ้นไป เนื้อหาที่เรียนจะลึกขึ้น และยากขึ้นตามลำดับ