Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Idiopathic Thrombocytopenic Purpura (ITP) - Coggle Diagram
Idiopathic Thrombocytopenic Purpura (ITP)
พยาธิ
เกิดจากมีการเพิ่มการทำลายของเกล็ดเลือด ซึ่งเกิดได้จากการที่มีการสร้างแอนติบอดีต่อเกล็ดเลือดของตัวเองซึ่งมักจะเป็น IgG นอกจากนี้ยังมีกลไกอื่นได้แก่ การเกิดภาวะ dysregulation ของ regulatory T cells
ทำให้เกิด platelet autoantibodies และเกิด direct cytotoxic effect บนผิวของเกล็ดเลือด
ส่งผลให้เกล็ดเลือดถูกทำลาย นอกจากนี้ยังพบได้ว่าผู้ป่วย ITP จะมีการสร้างเกล็ดเลือดลดลงด้วย
เป็นโรคที่มีอาการเลือดออกจากการมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ โดยร่างกายสร้าง platelet antiboby ขึ้นมาทำลายเกล็ดเลือดของตัวเองและของผู้อื่น
ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง ( purpura ) ไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน
ชื่อว่าเกิดจากปฏิกริยาอิมมูน จึงมีชื่อเรียกอื่นๆว่าImmunologic idiopathic purpura หรือ Autoimmune thrombocytopenic purpura
อาการ
ส่วนใหญ่มีอาการเลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ โดยไม่มีสาเหตุใดๆนำมาก่อน
petechiae, purpuric spot, echymosis, epistaxis, abnormal menstrual bleeding
เสียเลือดอย่างรวดเร็วและรุนแรงจาก GI bleeding
ตับม้ามและต่อมน้ำเหลืองไม่โต บางรายมีการติดเชื้อ URI นำมาก่อน ภาวะแทรกซ้อนที่น่ากลัวที่สุดคือ intracranial hemorrhage
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
เกล็ดเลือดต่ำกว่า hemostatic level คือ 60,000 เซลล์/ลบ.มม. รายที่มีอาการรุนแรงมักจะต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
hematrocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือเลือดเรื้อรังอาจมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 % 6. platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน ( ปกติ 9 - 11 วัน )
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
การรักษา
การให้เกร็ดเลือด ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือออกในอวัยวะที่สำคัญๆ เช่นสมอง หรือในการผ่าตัด
การรักษาด้วยยากลุ่ม Corticosteroid
Dexamethasone ขนาด 40 mg/day เป็นเวลา 4 วันให้ทุก 2-4 สัปดาห์ จำนวน 1-4 ครั้ง
Methylprednisolone ขนาด 30 mg/kg/day เป็นเวลา 7 วัน
Prednisolone ขนาด 0.5-2 mg/kg/day เป็นเวลา 2-4 สัปดาห์
Intravenous immunoglobulin (IVIg) ขนาด 400 mg/kg/day เป็นเวลา 5 วัน
Intravenous anti-D ขนาด 50-75 Mg/ kg ซึ่งสามารถให้ได้ในผู้ป่วยที่มีหมู่เลือด Rh+ เท่านั้น
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ( splenectomy ) ในรายที่รักษาด้วย Pednisolone ไม่ได้ผล
การพยาบาล
กลุ่มที่มีความเสี่ยงน้อย (100,000 < platelet > 50,000)
งดอาหารสีดำ สีแดง
วนปาก งดแปรงฟัน
สังเกตอาการ/อาการแสดงของภาวะเลือดออกเช่น เลือดออกภายในร่างกาย โดยสังเกตได้จากจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (petechiae) จุดจ้ำเลือด (ecchymosis) มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (hematoma)
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (platelet s 20,000)
งเกตจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (petechiae) จุดจ้ำเลือด (ecchymosis) มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ(hematoma) เลือดออกในทางเดินอาหาร เช่น อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดสด
สังเกตอาการทางระบบประสาท ได้แก่ การมองเห็นเปลี่ยนแปลง อาการปวดร่วมกับอาการชา (numbness) คล้ายเข็มทิ่ม(tingling) และอาการอ่อนแรง (weakness) ปวดศีรษะ ซึมลง อาเจียนพุ่ง ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วย (vital signs) และสัญญาณทางระบบประสาท (neuro signs) ทุก 1 ชั่วโมง หากมีอาการเปลี่ยนแปลง
เพื่อช่วยให้เลือดหยุดและป้องกันไม่ให้เลือดออกโดยการ Stop bleeding
Purpura ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง
Epistaxis ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบปีกจมูกทั้งสองข้าง และวางกระเป๋าน้ำแข็งหรือ cold pack ที่บริเวณหน้าผาก จัดให้นั่งอยู่ในท่าโยกตัวไปด้านหน้าเล็กน้อย
บาดแผล ทำ pressure dressing นานประมาณ 10 - 15 นาที หรือจนเลือดหยุด งดการเคลื่อนไหวบริเวณนั้นและยกบริเวณที่มีเลือดออกให้สูงเหนือกว่าระดับหัวใจ