Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการ สำหรับเด็กวัยเรียน, ความสำคัญ - Coggle Diagram
โภชนาการ
สำหรับเด็กวัยเรียน
ถ้าเด็กวัยนี้ได้รับอาหารที่ไม่เพียงพอ
แคระแกรน
สติปัญญาทึบ
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ต่ำ
ถ้าเด็วัยนี้ได้รับอาหารที่เพียงพอ
สุขภาพร่างกายและจิตใจแข็งแรง
มีความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
ปัญหา
ภาวะทุบโภชณาการ
สาเหตุ
การดูแลของมารดาคณะตั้งครรภ์และหลังคลอดที่ไม่ดี
น้ำหนักแรกเกิดและการเจ็บป่วยของเด็ก
สภาพสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจที่ไม่ดี
ผลกระทบ
ภูมิต้านทาโรคต่ำ
พัฒนาการทางสมองล่าช้าไม่สมวัย
โรคโลหิตจาง
ผลกระทบ
ออ่นเพลีย ไม่ค่อยมีแรง
พัฒนาการล่าช้ากว่าวัย
รับประทานอาหารน้อย
ริมฝีปาก เล็บ ลิ้น เปลือกตา ซีดกว่าปกติ
สาเหตุ
ขาดธาตุเหล็ก
โรคอ้วน
สาเหตุ
ไม่กินนมแม่ กินนมผงตั้งแต่แรกเกิด
การเลี้ยงดูที่ส่งเสริมให้เด็กกินอย่างไม่มีขอบเขต
ภาวะโภชณาการเกินของพ่อแม่
ผลกระทบ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
ขาดความภาคภูมิใจในตัวเอง
นอนกรน หยุดหายใจขณะนอนหลับ
การจัดอาหาร
ไม่ควรละเว้นมื้อใดมื้อหนึ่ง โดยเฉพาะมื้อเช้า
ไม่ควรจัดอารหารจำพวกแป้งและน้ำตาลอย่างเดียว
จัดอาหารให้ครบถ้วนสัดส่วน
จัดอาหารว่างให้เด็กบริโภคบ้าง
ความต้องการพลังงานและสารอาหาร
พลังงาน
1400-1700 กิโลแคลลรี่ต่อวัน
คาร์โบไฮเดรต
ควรได้รับร้อยละ 45-65 ของพลังงานทั้งหมด
แนะนำข้าวไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง
โปรตีน
อายุ 9-12 ปี วันละ 40 กรัม
อายุ 6-8 ปี วันละ 28 กรัม
ไขมัน
ควรได้รับร้อยละ 25-35 ของพลังงานทั้งหมด
วิตามิน
B2 = 0.6-0.9 มิลลิกรัม
โฟเลต = 200-300 ไมโครกรัม
ไทอะมีน = 0.5-0.9 มิลลิกรัม
K = 55-60 มิลลิกรัม
E = 7-11 มิลลิกรัม
D = 5 ไมโครกรัม
C = 40-45 มิลลิกรัม
A = 500-600 ไมโครกรัม
แร่ธาตุ
ฟอสฟอรัส
ถั่ว ไข่ ปลา เนื้อสัตว์ นม เนยแข็ง
500-1000 มิลลิกรัม
เหล็ก
เครื่องในสัตว์
8.1-11.8 มิลลิกรัม
แคลเซียม
นม ปลาเล็กปลาน้อย ผักใบเขียว
800-1000 มิลลิกรัม
น้ำ
8-10 แก้วต่อวัน
หลักการพยาบาลเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมชนิดและอาหารที่ควรได้รับแต่ละวัน
ข้าว = 8 ทัพพี
ผัก = 4 ทัพพี
ผลไม้ = 1 ส่วน
นม = 2 แก้ว
เนื้อสัตว์และเมล็ดถั่วแห้ง = 6 ช้อนกินข้าว
ไข่ = ครึ่งฟอง - 1 ฟอง
น้ำมัน = ไม่เกิน 5 ช้อนชา
ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวาน
ออกกำลังการสม่ำเสมอ
การประเมิน
น้ำหนักและส่วนสูงเหมาะสมตามวัย
อายุ 7-9 ปี
น้ำหนัก 22-26 กิโลกรัม
ส่วนสูง 115-125 เซนติเมรต
อายุ 4-6 ปี
ส่วนสูง 100-110 เซนติเมรต
น้ำหนัก 16-20 กิโลกรัม
อายุ 10-12 ปี
น้ำหนัก 28-32 กิโลกรัม
ส่วนสูง 130-140 เซนติเมรต
ความสำคัญ