Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง ซีด2 - Coggle Diagram
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ซีด2
ภาวะเลือดจางจากขาดโฟเลต
(folate deficiency anemia)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพยาบาล
เม็ดเลือดแดงโตผิดปกติ (megaloblastic anemia) ซึ่งเป็นสภาวะที่มีขนาดใหญ่กว่าปกติ มีจำนวนน้อยกว่า และยังเป็นรูปทรงรีไม่ใช่วงกลม
HCT HB ต่ำ
สาเหตุ
ม่สามารถดูดซึมได้วิตามินโฟเลต จากความผิดปกติของลำไส้เล็ก เช่น ได้รับการผ่าตัดลำไส้เล็กส่วนต้นซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดูดซึมวิตามินโฟเลต หรือมีโรคลำไส้เล็กอักเสบเรื้อรัง
ผู้ที่ทานอาหารน้อย มีภาวะทุโภชนาการ
ร่างกายมีความต้องการวิตามินโฟเลตสูงขึ้น เช่นในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
ได้รับยาที่ออกฤทธิ์ต่อต้านการทำงานของวิตามินโฟเลต เช่น ยาสำหรับอาการชักอย่างยาเฟนิโทอิน (phenytoin) อย่างดิแลนทิน (dilantin)
ภาวะซีดจากการเสียเลือด
พยาธิสภาพ
การเสียเลือดออกนอกหลอดเลือดหรือภายนอกร่างกาย จะทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง
ทำให้ปริมาณเลือดในร่างกายพร่อง (Hypovolemia) ซึ่งชดเชยสำหรับปริมาณเลือดที่ลดลงจากการเสียเลือดโดยน้ำจะเคลื่อนที่จาก ช่องว่างระหว่างเซลล์ไปยังหลอดเลือดและปริมาณพลาสมาจะเพิ่มมากขึ้นความหนืดของเลือดจะลดลงเนื่อง
จากปริมาณของเม็ดเลือดแดงต่ำร่วมกับการเพิ่มขึ้นของน้ำในหลอดเลือด ทำให้มีไหลเวียนของเลือดผ่านหลอดเลือดเร็วขึ้น เกิดการไหลวน (turbulent) เนื่องจากการไหลเวียนที่ผิดปกตินี้ทำให้เพิ่มแรงดันในหัวใจห้องล่างเพิ่ม workload ของหัวใจ
ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น ทำให้หัวใจห้องล่างขยายใหญ่ขึ้น (heart dilatation) ทำงานไม่เป็นปกติ (valve dysfunction) เกิดภาวะพร่องออกชิเจน
จะส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อการทำงานของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนในภาวะซีด โดยทำให้หลอดเลือดขยาย หัวใจบีบตัวแรงขึ้นเพิ่มความต้องการใช้ออกซิเจน เพิ่มอัตราการลึกของการหายใจเพื่อเพิ่มออกซีฮีโมโกลบิน ที่จะปล่อยออกซิเจนให้กับเนื้อเยื่อมากขึ้น
ร่างกายจะปรับตัวโดยยังส่งเลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองเท่าเดิม แต่จะส่งเลือดไปที่ไตลดลง ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นการทำงานของ Renin-angiotensin
ทำให้มีการคั่งของโซเดียมและน้ำมากขึ้น กระบวนการเพิ่มปริมาตรของเลือดเป็นการปรับตัวของร่างกายเพื่อเพิ่มการทำหน้าที่ของไตให้ดีขึ้น โดยที่ไม่ทำให้เกิดการพร่องออกซิเจนในเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่นๆการลดลงของฮีโมโกลบินในช่วงที่ปริมาณพลาสม่าต่ำลง จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการที่ผิวหนัง เยื่อบุริมฝีปาก โคนเล็บ และตาขาวซีด
1 more item...
อาการและอาการแสดง
มีภาวะช็อกจากการเสียเลือด กระหายน้ำ ชีพจรเร็ว ซีด ความดันโลหิตลดลง ออกซิเจนเลี้ยงสมองน้อยลง
การพยาบาล
ให้พลาสมา Packed red cell ให้ออกซิเจนทางจมูกหรือหน้ากาก (Oxygen cannula หรือ Mask)
ควรอยู่ในท่านอนราบและให้ความอบอุ่น ให้พักผ่อน
รักษาภาวะช็อก ให้สารน้ำทดแทนเพื่อเพิ่มอิเล็กโทรไลต์
ควบคุมภาวะเลือดออกในกรณีเลือดออกมากๆ
ติดตาม HCT HB
หากภาวะสับสนให้ยานอนหลับเพื่อป้องกันอันตรายให้อาหารและน้ำให้เพียงพอ
ให้ยาเพิ่มธาตุเหล็กโดยการรับประทานหรือฉีดทางกล้ามเนื้อจนกระทั่งค่าฮีโมโกลบินเข้าสู่ปกติ
ติดตามการตรวจทางปฏิบัติการ และการถ่ายภาพรังสี เพื่อดูระดับของภาวะซีด บางรายอาจต้องผ่าตัดเพื่อควบคุมบริเวณที่เป็นสาเหตุของการเสียเลือด
ภาวะซีดจากธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
พยาธิสรีรภาพ
พยาธิสรีรภาพที่มีผลจากโรคธาลัสซีเมียพบได้ตั้งแต่แต่ Mild microcytosis จนถึงตายในมดลูก (Death in utero) ปรากฏอาการซีดจากโรคธารัสซีเมียเป็นชนิด Microcytic hypochromic hemolytic anemia
ผลจากการที่ร่างกายสร้างสายฮีโมโกบินที่ปกติลดลงจะเป็นผลให้สายโกลบินที่เหลือเพิ่มสูงขึ้น เช่น ในทารกที่เป็น α-Thalassemia ซึ่งมีการสร้างสาย α ลดลงจะพบว่าสาย γ และสาย β สูงขึ้น ซึ่งมีโมโกลบินที่ผิดปกติเหล่านี้ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติและจะตกตะกอนเมื่อเซลล์แก่ทำให้เม็ดเลือดอายุสั้นลง
อาการและการแสดงอาการ
ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ
ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย พบ Thalassemic face ได้แก่ ซีด เหลือง ตับโต และม้ามโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ๆ
ลักษณะเม็ดเลือดแดงผิดปกติ เช่น Red cell indices พบเม็ดเลือดแดงมีลักษณะติดสีจาง และมีขนาดเล็ก (Hypochromic microcytic) และรูปร่างผิดปกติ (Poikilocytosis)
การตรวจหา Hb H Inclusion body จะพบจุดตะกอนกระจายอยู่บนเม็ดเลือดแดง ทำให้เห็นเม็ดเลือดแดงมีลักษณะคล้ายลูกกอล์ฟ
การตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน (Hb typing, hemoglobin analysis)
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติในครอบครัว
การรักษา
แบบประคับประคอง โดยรักษาตามอาการ และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
การให้เลือดชนิดพึ่งพาเลือด (TDT) พิจารณาในผู้ป่ววยที่มี Hb น้อยกว่า 7 g/dl แบบ คือ การให้เลือดอย่างสม่ำเสมอตลอดไป โดยระดับความเข้มข้นของเลือด (Hematocrit)
ขับเหล็ก ผู้ป่วยจะได้รับเหล็กจากเลือดประมาณครั้งละ 230 มิลลิกรัม หรือปีละ 6 กรัม
การตัดม้าม ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับเลือด มักจะมีปัญหาม้ามโต ผู้ป่วยจะมีอาการซีดเร็วกว่าที่เคยเป็นต้องให้เลือดบ่อยขึ้นข้อเสียจากการตัดม้าม คือ ทำให้ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
กรดโฟลิก (Folic acid) ซึ่งเป็นยาบำรุงเม็ดเลือด
การรักษาอาการแทรกซ้อน ได้แก่ ภาวะติดเชื้อ และหัวในล้มเหลว
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและหลีกเลี่ยงยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
การพยาบาล
การให้เลือดในผู้ป่วยธาลัสซีเมียที่พึ่งพาการรับเลือด (TD
ค่าฮีโมโกลบิน < 7 g/dl อย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน > 2 สัปดาห์ โดยไม่มีสาเหตุอื่นที่ทําให้เกิดภาวะซีด
ค่าฮีโมโกลบิน < 7 g/dl ร่วมกับ มีภาวะแทรกซ้อนของโรคธาลัสซีเมีย ได้แก่ หน้าเปลี่ยน (facial change) การเจริญเติบโตต่ำกว่าเกณฑ์ กระดูกหัก และ มี การสร้างเม็ดเลือดนอกไขกระดูก (extramedullary hematopoiesis)