Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิง อายุ 70 ปี, O: ปัจจัยเสริมอายุ, :, Objective data,…
ผู้ป่วยหญิง
อายุ 70 ปี
🟡โรคปะจำตัว
HT
มีแรงต้านทานการไหลเวียนเลือด
ในร่างกายเพิ่มขึ้น
ผนังของหลอดเลือดโคโรนารีรับแรงกระแทกมากขึ้น
หลอดเลือดแดงแข็งตัว
Atherosclerosis
DM
ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น
ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น
เกิดการทำลายเยื่อบุ
ภายในหลอดเลือด
DLP
ระดับไขมันในเลือดสูง
เกิดการสะสมของไขมัน
ในหลอดเลือด
คราบไขมันมีการแตกหรือฉีกขาด
Atherosclerotic plaque rupture
Platelet activation aggregation
จับ ตัว Fibrinogen
Platelet-fibrinogen complex
Iกระตุ้น Intrinsic และ Extrinsic pathway
Thrombus formation
1 more item...
🟧วางแผนจำหน่ายผู้ป่วย D-METHOD
E=Enviment
ดูแลให้บริเวณสะอาดอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ และจัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
D=Diagnosis
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ถึงสาเหต อาการ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
M=Medicine
แนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด สรรพคุณของยา
ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยา
รับประทานยาอย่างสม่าเสมอ ตรงตามเวลาที่กาหนด
ต้องทราบถึง ขนาด ปริมาณที่รับประทาน วิธีใช้ รวมถึงผลข้างเคียงต่าง ๆ
ไม่ควรหยุดยา ปรับยา หรือเพิ่มขนาดยาเอง
ยากลุ่มต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด เช่น ยาแอสไพริน ควรรับประทานหลังอาหารทันที
เพื่อป้องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหารและเฝ้าระวังภาวะเลือดออกง่าย พยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทาให้เลือดออก และติดตามผลการตรวจเลือดด้วย
หากพบอาการผิดปกติจากการใช้ยา ควรไปพบแพทย์ทันที
หากเป็นยาที่รักษาโรคประจาตัว เช่น โรคความดันสูง หรือโรคไขมันในเลือดสูง ถ้าลืมกินยา
สามารถรับประทานยาได้ทันทีที่นึกขึ้นได้ แต่ถ้าเป็นยารักษาโรคเบาหวาน ให้กินยามื้อต่อไปให้สัมพันธ์กับมื้ออาหารตามทีแพทย์สั่ง
หากลืมรับประทานยาก่อนอาหาร ถ้ามียามื้อถัดไปให้รับประทานในมื้อนั้น
หากไม่มียาก่อนอาหารมื้อถัดไปสามารถรับประทานได้ 2 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร
8.แจ้งแพทย์หรือทันตแพทย์ทุกครั้งว่ารับประทาน Warfarin ก่อนทำหัตถการหรือทำฟัน
T=Treatment
แผลผ่าตัดหน้าอกจะติดกันภายใน 7-10 วัน รวมถึงแผลที่ขาและแขนจากการตัดหลอดเลือดไปทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ บางครั้งอาจสังเกตเห็นเนื้อนูนบริเวณแผลผ่าตัดซึ่งจะค่อยๆยุบหายไปในภายหลัง ผู้ป่วยไม่ควรทำแผลหรือดึงพลาสเตอร์ติดแผลออกเอง เมื่อแผลหายสนิทประมาณ 10 วันหลังผ่าตัด สามารถอาบน้าอุ่น ถูบริเวณแผลเบาๆ ล้างออกด้วยน้าและซับให้แห้ง ไม่ควรใช้โลชั่นหรือแป้งทาบริเวณแผลผ่าตัดควร ตรวจดูและสังเกตแผลทุกวัน หากมีอาการปวด บริเวณแผลบวมแดง หรือมีไข้ ให้รายงานแพทย์ทันที และไม่ควรยกของหนัก เกิน 5 กิโลกรัมในระยะ 4-6 อาทิตย์เพราะจะกระเทือนต่อกระดูกกลางอก
H=Health
การฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกาย
ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ
การฝึกหายใจ เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวดีขึ้นและป้องกันปอดแฟบ
วิธีที่ 1 การฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกะบังลม วิธีฝึก
่1.วางมือทั้ง 2 ข้างบนท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่
2.สูดลมหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ ทางจมูก และให้ท้องป่องออก
3.เป่าลมหายใจออกโดยวิธีห่อปากเป่าลมออกช้าๆ ให้ท้องแฟบลงช้าๆ
4.หายใจเข้าและออกซ้ำกัน 6-10 ครั้ง/รอบ อย่างน้อย 3 รอบในทุกๆ ชั่วโมงที่ตื่น
วิธีที่ 2 การฝึกหายใจของกลีบปอดส่วนล่าง
1.วางมือทั้ง 2 ข้างที่ชายโครงด้านล่าง
2.สูดลมหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ ทางจมูก ให้ซี่โครงบานออก
3.เป่าลมหายใจโดยการห่อปาก เป่าลมออกช้าๆ ให้ซี่โครงแฟบลง
4.หายใจเข้าและออกซ้ำกัน 6-10 ครั้ง/รอบ อย่างน้อย 3 รอบในทุกๆ ชั่วโมงที่ตื่น
การฝึกการเคลื่อนไหวของทรวงอกพื่อช่วยให้เกิดการขยายตัวของทรวงอกเพิ่มขึ้น เพิ่มการระบายอากาศของปอดให้สามารถกลับมาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหลังการผ่าตัด
ยกแขนขึ้นพร้อมกันสองข้างพร้อมกับค่อยๆสูดลมหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ
2.หลังจากนั้นเอาแขนลงพร้อมกับค่อยๆเป่าลมออกทางปากช้าๆ ทำซ้ำ 5-10 ครั้ง/รอบ 1-2 รอบ
การออกกำลังกาย
1.ช่วงอบอุ่นร่างกาย ใช้รูปแบบการออกกาลังกายแบบการเคลื่อนไหว ทำท่ากายบริหารแบบไม่ใช้อุปกรณ์ช่วย ทาอย่างช้า ๆ ต่อเนื่อง โดยพยายามอย่าเกร็งค้าง ทาท่าละ 10 ครั้ง ใช้เวลาประมาน 10 นาที
2.ช่วงออกกาลังกาย เน้นการออกกาลังกายแบบแอโรบิค (Aerobic Exerecise) เช่น การเดิน หรือเดินบนลู่วิ่ง ปั่นจักรยานแบบตั้งอยู่กับที่ รามวยจีน ว่ายน้า เป็นต้น และอาจเพิ่มการออกกาลังกายแบบมีแรงต้านเข้ามาด้วย เริ่มได้ตั้งแต่สัปดาห์แรกหลังออกจากโรงพยาบาล โดยเดินให้เร็วเต็มที่ ใช้เวลาประมาน 5 นาที
สัปดาห์ที่ 2 ทำเช่นเดียวกับสัปดาห์แรกแต่เพิ่มระยะเวลาในการเดินเป็น 10 นาที
สัปดาห์ที่ 3 ทำเช่นเดียวกับสัปดาห์แรกแต่เพิ่มระยะเวลาในการเดินเป็น 15 นาที
สัปดาห์ที่ 4 เป็นต้นไป พยายามเดินเร็วขึ้นโดยใช้ระยะเวลา 15 นาทีเหมือนเดิม
3.การออกกาลังกาย เน้นการออกกาลังกายแบบแอโรบิคอย่างสม่าเสมอ 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ นานต่อเนื่อง 20-40 นาที ควรออกกาลังกายภายหลังรับประทานอาหารไปแล้ว 1-2 ชั่วโมง สวมรองเท้าผ้าใบที่พอดีและสบาย และควรมีป้ายชื่อ ชื่อโรค แพทย์ประจาตัว หมายเลขโทรศัพท์ไว้เพื่อติดต่อในกรณีฉุกเฉิน
การฟิ้นฟูทางด้านจิตใจ
ผู้ป่วยเลือกและค้นหาวิธีการจัดการความเครียดด้วยตนเอง ทำในสิ่งที่ชอบและเกิดความพอใจในวิธีนั้นๆ ซึ่งวิธีที่จะทำจะต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น อย่างเช่น การใช้เสียงเพลง การทาสมาธิ การหากิจกรรมที่ตนเองชอบทาเป็นต้น ทั้งนี้ในการจัดการความเครียดยังต้องขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของร่างกายเป็น
การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
การควมคุมความดันโลหิต ควรควบคุมน้อยกว่า 130/85 mmHg.
การควบคุมระดับไขมันในเลือด ผู้ป่วยควรควบคุมระดับไขมันชนิดแอลดีแอล ไม่เกิน 100 มก./ดล และไขมันชนิดเอชดีแอล ควรมากกว่า 40 มก./ดล ถ้าไขมันชนิดเอชดีแอล น้อยกว่า 40 มก./ดล จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นได้ ควรเพิ่มระดับไขมันชนิดเอชดีแอล โดยการลดน้าหนัก เลิกสูบบุหรี่ และออกกาลังกายแบบแอโรคบิค
การควบคุมนํ้าหนักผู้ป่วยหลังผ่าตัดทาทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ ควรมีดัชนีมวลกายหรือ Body Mass Index (BMI) อยู่ในช่วง 18.5-22.9 กก./ม2
ควบคุมเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงค่าปกติ และควรมีระดับน้าตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1c) ต่ากว่าร้อยละ 7
O=Out patient
ภายหลังการผ่าตัดทาทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจแพทย์จะนัดติดตามอาการเป็นระยะ ผู้ป่วยทุกรายควรมาพบแพทย์ตามนัดเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลง และปรับเปลี่ยนแผนการรักษา เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน หากผู้ป่วยลืมวันนัดให้มาพบแพทย์ทันทีที่นึกได้ และเตรียมเอกสารหรือรายละเอียดตามที่ระบุไว้ให้เรียบร้อยก่อนไปพบแพทย์
D=Diet
หลีกเลี่ยงอาหารหมักดองทุกชนิด เช่น ผัก ผลไม้ดอง เป็นต้น และอาหารที่ผ่านการถนอมอาหารด้วยเกลือ เช่น ปลาเค็ม ปลาร้า ปลาส้ม น้าไตปลา กะปิ กุ้งแห้ง รวมถึงบะหมี่สาเร็จรูป
การควบคุมระดับไขมันในเลือด ผู้ป่วยควรควบคุมระดับไขมันชนิดแอลดีแอล ไม่เกิน 100 มก./ดล และไขมันชนิดเอชดีแอล ควรมากกว่า 40 มก./ดล ถ้าไขมันชนิดเอชดีแอล น้อยกว่า 40 มก./ดล
ควรรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น ลดไขมันในอาหารโดยเฉพาะไขมันชนิดอิ่มตัว บริโภคนม หรือผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันต่า ปลา เป็ด ไก่ ถั่ว ธัญพืช เป็นต้น ซึ่งจะช่วยลดความดันโลหิตและลดไขมันชนิดแอลดีแอล
หลีกเลี่ยงอาหารพวกไข่แดง เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ที่ติดมันทุกชนิด อาหารทะเลบางชนิดเช่น หอยนางลม
ลดเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาล เน้นการบริโภคผักและผลไม้หลากสีให้มากขึ้น ควรบริโภคผักและผลไม้ในปริมาณไม่ต่ำกว่า 600 กรัมต่อวัน
O: ปัจจัยเสริมอายุ
:
Objective data
เอกสารอ้างอิง
รพีชัชร ทับทิมเพชรรางกูลใ Cardiac rehabilitationสืบค้นเมื่อวันที่ 4 สิ่งหาคม 2564 เข้าถึงได้จาก .
http://nurse.hcu.ac.th/upload/files/vichakan58/04%20%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A3-Cardiac%20%20Rehabilitation.pdf
ลาลิน เจริญจิตต์ , และ อติญาณ์ ศรเกษตริน(2562).ภาวะแทรกซ้อนและพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่ได้รับการผ่าตัดทาทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิ่งหาคม 2564 เข้าถึงได้จาก
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/download/154305/119863/
ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โปรแกรมการเตรียมตัวก่อนเข้ารับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดและทรวงอก. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิ่งหาคม 2564 เข้าถึงได้จาก
https://heart.kku.ac.th/index.php?option=com_k2&view=item&id=60:pre-operative-program
วริษา กันบัวลา.บทที่ 5.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทรวงอกและ ใส่ท่อระบายทรวงอก.ชลบุรี: บางแสนการพิมพ์.
วชิราภรณ์ สุมนวงศ์. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอก (พิมพ์ครั้งที่ 3). ชลบุรี: บางแสนการพิมพ์.
ส่งผล
ส่งผลให้เป็น CHF
subjective data
Objective data
Objective data
Objective data
นางสาว นิลปัทม์ เหล่าศรี 61010279 กลุ่ม 03-22
Objective data
Objective data
ปัจจัยด้านอายุ ที่ส่งผลต่อการหายของแผล
ผุ้ผ่วยมีปัญหาเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้การไหลเวียนเลือดไม่ดี
ผู้ป่วยมี Congective heart fail