Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตลาดและการกำหนดราคา Market and Pricing - Coggle Diagram
ตลาดและการกำหนดราคา
Market and Pricing
ความหมายและหน้าที่ของตลาด
หน้าที่ของตลาดคือ อานวยความสะดวกแก่ผู้ซื้อและผู้ขาย ได้ทาการแลกเปลี่ยนอย่างสะดวก ปัจจุบันการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีส่งผลให้บริการต่างๆ ของตลาด รวดเร็วและรอบด้านมากขึ้น
ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมการตกลงซื้อขายสินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิตซึ่งกันและกันของผู้ซื้อและผู้ขาย โดย
-ผู้ซื้อและผู้ขายจะมีการพบกันหรือไม่ก็ได้
-ไม่จำเป็นที่จะต้องมีสถานที่เพื่อมาตกลงซื้อขายกัน
การจำแนกตลาด
จำแนกตามเขตภูมิศาสตร์ ได้แก่
ตลาดภายในประเทศ หมายถึงการซื้อขายผลผลิตชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
ตลาดต่างประเทศ หมายถึงการซื้อขายผลผลิตในประเทศต่าง ๆ ภายนอกประเทศ
ตลาดท้องถิ่น เป็นตลาดที่ครอบคลุมการซื้อขายในขอบเขตของพื้นที่นั้น ๆ
ตลาดโลกหมายถึง การซื้อขายผลผลิตระหว่างประเทศทั่วโลก
ตลาดอื่น ๆ ได้แก่
ตลาดการเงิน ประกอบด้วย ตลาดเงินและตลาดทุน โดยตลาดเงิน คือ ตลาดที่มีการกู้ยืมระยะสั้น สำหรับ ตลาดทุน คือ ตลาดการกู้ยืมเงินระยะยาว
ตลาดการเงินต่างประเทศ เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยน เงินตราสกุลต่างๆ โดยมีตัวกลางในการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ เช่น ธนาคารพาณิชย์
จำแนกตามลักษณะการซื้อขาย ได้แก่
ตลาดขายส่ง คือ ตลาดที่มีการซื้อขายสินค้าที่ผู้ซื้อมิใช่ผู้บริโภคสินค้านั้น
ตลาดขายปลีก คือ ตลาดที่มีการซื้อขายระหว่างผู้ขายกับผู้ซื้อหรือผู้บริโภคโดยตรง
ตลาดกลาง คือ ตลาดที่มีกฎระเบียบชัดเจนสาหรับผู้ขายและผู้ซื้อ
โครงสร้างตลาดในทางเศรษฐศาสตร์
3.2 ตลาดผูกขาด
ลักษณะของตลาดผูกขาด (Monopolist)
การเข้าออกจากอุตสาหกรรมทาได้ยากเพราะมีต้นทุนสูง
การเข้ามาแข่งขันของผู้ผลิตรายใหม่ในอุตสาหกรรมทาได้ยากเพราะมีอุปสรรคในการเข้ามา (barrier to entry)
สินค้ามีลักษณะแตกต่างกันจึงไม่มีสินค้าชนิดอื่นทดแทนได้หรือทดแทนได้ก็ทดแทนได้ไม่ดี
มีผู้ผลิตเพียง “รายเดียว”
สาเหตุของการผูกขาด 1.การกีดกันหรืออุปสรรคโดยกฎหมาย
ผู้ผูกขาดเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตแต่เพียงผู้เดียว 3. ระบบการผลิตมีขนาดใหญ่และจาเป็นต้องมีเงินลงทุนสูง
3.3 ตลาดผู้ขายน้อยราย
สินค้ามีลักษณะคล้ายคลึงกัน
มีการกีดกันการเข้าออกจากธุรกิจ
ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) คือลักษณะสำคัญของตลาดแบบนี้เมื่อผู้ผลิตรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาและจำนวนการผลิตจะกระทบคู่แข่งขันและมักจะมีการกระทาตอบโต้
การกระจายข้อมูลข่าวสารไม่สมบูรณ์ (ต้นทุน ราคา และคุณภาพของสินค้า) ถูกสกัดไม่ให้ไปถึงผู้ซื้อ
3.1 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Competitive Market)
2.สินค้าที่เสนอขายมีลักษณะเหมือนกัน (Homogeneous Product)
1.จำนวนผู้ซื้อและผู้ขายมีเป็นจานวนมาก ผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละรายไม่สามารถกาหนดราคาได้จะต้องยอมรับราคาที่กำหนดโดยระบบตลาด (Price Taker)
3.ผู้ผลิตสามารถเข้าหรือออกจากตลาดได้อย่างเสรี
สามารถเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังที่ต่างๆ ได้โดยเสรี
ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับตลาด
ปราศจากข้อบังคับที่เข้มงวดจากรัฐบาล
ไม่มีการโฆษณา
3.4 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
-สินค้ามีลักษณะแตกต่างกันน้อย
-ผู้ผลิตจึงจำเป็นต้องสร้างความแตกต่างของสินค้า เพื่อแยกตลาดของผู้แข่งโดยการโฆษณา
-มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเป็นจำนวนมากแต่ไม่มากเท่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์
-หน่วยผลิตแต่ละรายมีลูกค้าของตนเป็นส่วนๆ ไป จึงมีอานาจผูกขาดในสินค้าของตนระดับหนึ่ง พร้อม ๆ กับสภาพการแข่งขันที่ต้องเผชิญอยู่ในตลาด จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) เป็นตลาดที่อยู่ระหว่างตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกขาด ที่ค่อนมาทางตลาดแข่งขันสมบูรณ์ โดย