Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สารอินทรีย์และการใช้ประโยชน์, image, นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส…
บทที่ 3 สารอินทรีย์และการใช้ประโยชน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่พบมาก สามารถจัดแบ่งได้ 4 ประเภท ตามชนิดของพันธะที่เกิดขึ้นภายในโมเลกุลคือ
อัลเคน(Alkane)
อัลเคน(Alkane)
มีเทน
โพรเพน
อีเทน
บิวเทน
มักอยู่ใน ก๊าซธรรมชาติ หินน้ำมัน และน้ำมันปิโตรเลียม
สมบัติ
สารประกอบอัลเคน มีหลายสถานะ โดยขึ้นอยู่กับจำนวนอะตอมคาร์บอนในโมเลกุล
C5-C17 เป็นของเหลวไม่มีสี
ตั้งแต่ C18 ขึ้นไป เป็นของแข็ง
C1-C4 เป็นก๊าซไม่มีสี
ไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์
มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ
เนื่องจากพันธะระหว่างโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะแวนเดอร์วาลส์ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอน
สารประกอบอัลเคนสามารถเกิดปฏิกิริยาเผาไหม้ได้
จะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำ เป็นผลิตภัณฑ์
อัลคีน(Alkene)
อัลคีน หรือ โอลิฟิน เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะระหว่างคาร์บอนเป็นพันธะคู่ มีสูตรทั่วไปเป็น
เอทิลีน
บิวทีน
สมบัติ
ไม่ละลายน้ำ(โมเลกุลไม่มีขั้ว)
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ
มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาดีกว่าอัลเคน เกิดปฏิกิริยากับสารอื่นได้ดี เนื่องจากมีพันธะคู่ในโมเลกุล
ปฏิกิริยาที่สำคัญอีกปฏิกิริยาคือ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ เป็นการต่อกันให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นจากโมเลกุลเล็กๆ
เมื่อทำปฏิกิริยาเผาไหม้ จะเกิดขึ้นไม่สมบูรณ์ ได้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ ไอน้ำ ที่มีเขม่าและควัน
อัลไคน์(Alkyne)
เป็นสารประกอบไฮโโรคาร์บอนที่มีพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมเป็นพันธะสาม มีสูตรทั่วไปเป็น
อีไทน์
โพรไพน์
สารประกอบอัลไคน์มีสมบัติคล้ายสารประกอบอัลคีน แต่มีความเสถียรต่ำกว่าอัลคีน
อเซทิลีนเป็นสารประกอบอัลไคน์ที่มีคาร์บอนน้อยที่สุดและเป็นสารที่ไวไฟ
อะโรเมติก(Aromatic)
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอนอะตอมที่ต่อกันเป็นวงปิดที่มีพันธะเดี่ยวสลับกับพันธะคู่
ทั้งอัลคีน อัลไคน์ และอโรเมติก จัดเป็นโมเลกุลชนิดไม่อิ่มตัว
เบนซีน มีลักษณะเป็นวงหกเหลี่ยม
สารประกอบไฮโดรเจน คาร์บอน และออกซิเจน
แอลกอฮอล์(Alcohol)
เป็นสารอนุพันธ์ไฮโดรคาร์บอนที่สำคัญใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมต่างๆ แอลกอฮอล์จะมีหมู่ไฮดรอกซิล -OH เป็นหมู่ฟังก์ชัน เกาะกับคาร์บอนอะตอมในหมู่อัลคิล
แบ่งออกได้ 3 ประเภท
Primary alcohol
Secondary alcohol
Tertiary alcohol
เอทานอล จึงใช้ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ และวิสกี้ โดยการหมักคาร์โบไฮเดรตจากพืช
อีเทอร์(Ethers)
อีเทอร์เป็นสารอนุพันธ์ไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไป คือ R-O-R' โดยที่ R และ R' เป็นหมู่อัลคิล ที่อาจเหมือนหรือไม่ก็ได้
ตัวอย่างอีเทอร์
MTBE ปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิง (ค่าออกเทน)
ไดเมทิลอีเทอร์ (DME) ใช้สำหรับเป็นสารให้ความเย็น
ไดเอทิลอีเทอร์ ใช้เป็นตัวทำละลายที่ระเหยง่าย และใช้เป็นยาสลบในห้องผ่าตัด
มีจุดเดือดต่ำ ระเหยได้ง่าย เป็นตัวทำละลายที่ดี
อัลดีไฮด์(aldehyde)
อัลดีไฮด์ เป็นสารประกอบที่มีหมู่คาร์บอนิล เป็นหมู่ฟังชันในโมเลกุลและมีไฮโดรเจนอะตอมเกาะอยู่กับหมู่คาร์บอนิล
สารประกอบอัลดีไฮด์ที่ควรรู้จัก
ฟอร์มาลดีไฮด์
เป็นน้ำยารักษาสภาพของพืชและสัตว์
อะซิตาลดีไฮด์ หรือ เอาทนาล
ผลิตเรซินและสีย้อม
ยานอนหลับ
เบนซาดีไฮด์ หรือ เบนซีนคาร์บอนาล
น้ำหอมและสารปรุงแต่งกลิ่นอัลมอลต์
เฟอร์ฟูราล หรือ เฟอร์ฟูราลดีไฮด์
ผลิตยาฆ่าศัตรูพืชและสัตว์
วานิลลาลดีไฮด์ หรือ วานิลลีน
กลิ่นวานิลลา
และคีโตน(Ketone)
คีโตน เป็นสารประกอบที่มีหมู่คาร์บอนิลไม่อยู่ตรงปลายโซ่ และมีอะตอมของคาร์บอนอื่นเกาะอยู่ทั้งสองข้างของคาร์บอนในหมู่คาร์บอนิล
สารประกอบคีโตนที่ควรรู้จัก
แอซิโตน
น้ำยาล้างเล็บ สังเคราะห์เรซิน
เมทิลเอทิลคีโตน
ใช้เป็นตัวทำละลายได้ดี
แอซิโตนฟีโนน
เป็นหัวน้ำหอม
การบูร
ใช้เป็นสารแต่งกลิ่นในสบู่
กรดอินทรีย์ (Organic acid)
กรดอินทรีย์หรือกรดคาร์บอกซิลิค เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่คาร์บอนิคเป็นหมู่ฟังก์ชัน มีสูตรโครงสร้างทั่วไปคือ
สารประกอบกรดคาร์บอกซิลิกเตรียมได้จากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารประกอบแอลกอฮอล์ หรืออัลดีไฮด์ ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่สามารถเกิดขึ้นได้ง่าย
ปฏิกิริยาที่สำคัญ
ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ (Esterification)
เป็นปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์ เกิดเป็นเอสเทอร์
ปฏิกิริยากับอัลคาไล
เกิดเป็นเกลือที่ละลายน้ำได้ เช่น
กรดคาร์บอกซิลิก ที่น่าสนใจ
กรดฟอร์มิกหรือกรดเมทาโนอิก
ในธรรมชาติพบในมดแดง
ใช้ในอุตสาหกรรมสีย้อม เครื่องหนัง และการจับตัวให้แข็งของยางพารา
กรดแอซิติก
ใช้ทำน้ำส้มสายชู
กรดซิตริก
พบในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะนาว ส้ม และสับปะรด
กรดแลคติก
เกิดจากการหมักของแลคโตส เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต
กรดออกซาลิกหรือกรดเอเทนไดโออิค
ใช้เป็นตัวรีดิวซ์สำหรับงานถายภาพ สารฟอกขาว และสารที่ใช้ลบหมึก
กรดทาร์ทาริก
พบในผลไม้จำพวกองุ่น
กรดเบนโซอิก
ใช้เป็นสารถนอมอาหาร สารกันเสีย ทำยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปาก เนื่องจากสารที่ใช้ฆ่าเชื้อโรคได้
กรดไขมัน
เมื่อกรดไขมันถูกไฮโดรไลซ์ด้วยโลหะอัลคาไล จะได้เกลือโลหะ ที่ใช้สำหรับทำสบู่
กรดอะมิโน
ประกอบด้วยทั้ง คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และซัลเฟอร์
กรดอะมิโนที่พบในสัตว์มี 20 ชนิด
กรดซาลิไซลิก
นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส 611117021