Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสิ่งที่ได้ ในสัปดาห์ที่ 6 - Coggle Diagram
สรุปสิ่งที่ได้ ในสัปดาห์ที่ 6
Elon Musk
ประวัติ
เป็นนักธุรกิจและนักลงทุนชาวอเมริกัน-แอฟริกาใต้
มีพ่อเป็นชาวแอฟริกาใต้ และแม่เป็นลูกครึ่งแคนาดา-อเมริกัน
เขาเกิดในประเทศแอฟริกาใต้ เมื่อปี 2514
เขียนโค้ดวิดีโอเกมขายได้ตั้งแต่อายุ 12 ปี
ได้รับจัดอันดับให้เป็นบุคคลที่รวยที่สุดในโลก
ประวัติการทำงาน
เป็นผู้ก่อตั้งและผู้บริหารของบริษัทสเปซเอ็กซ์
เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง, ผู้บริหารและสถาปนิกผลิตภัณฑ์ของเทสลามอเตอร์ส
ผู้ร่วมก่อตั้งและประธานบริษัทของ PayPal
เป็นผู้จุดประกายความคิดระบบขนส่งความเร็วสูงที่เรียกว่าไฮเปอร์ลูป
เจ้าของบริษัทด้านเทคโนโลยีชั้นนำอย่างเทสลาและสเปซเอ็กซ์
ในปี ค.ศ. 2003 เขามุ่งมั่นพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจังจนทำให้สามารถออกมาวิ่งได้จริงในระยะเวลาไม่กี่ปี
เขาตัดสินใจยกเลิกสิทธิบัตรในการผลิตของเทสลาทั้งหมดเพื่อช่วยให้การผลิตรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกดำเนินไปเร็วมากขึ้น
6 เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ
ไม่ใช่เรื่องเงิน
ทำในสิ่งที่ชอบ
อย่ากลัวที่จะคิดการใหญ่
กล้าเสี่ยง
ไม่ต้องฟังคำวิจารณ์
มีความสุขกับตัวเอง
จาซินดา เคต ลอเรลล์อาร์เดิร์น
ประวัติ
เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎำคม ค.ศ. 1980
ภูมิลำเนาเกิดที่เมือง Hamilton ประเทศนิวซีแลนด
คุณพ่อเป็นตำรวจ
คุณแม่เป็นคนดูแลเรื่องอำหำรกลำงวันของโรงเรียน
การศึกษา
จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก University of Waikato
สาขาการศึกษาปริญญาตรีสาขาการสื่อสารทำงการเมืองและการประชาสัมพันธ์
จบการศึกษาระดับมัธยมจาก Morrinsville College
ประวัติการทำงาน
ช่วงวัยเด็กเธอได้เรียนรู้ถึงปัญหาในนิวซีแลนด์
หลังทำงานในสหราชอาณาจักรมาสักพัก เธอก็ตัดสินใจกลับมาที่นิวซีแลนด์และลงเลือกตั้งเป็น ส.ส.ทันที
จาซินดามุ่งเน้นแก้ปัญหาความยากจนในเด็ก
เมื่อเธออำยุ 17 ปี ป้าของเธอก็ชักชวนให้เข้าร่วมกับพรรคแรงงาน
เมื่อจาซินดาเรียนจบมหาวิทยาลัยในคณะการสื่อสารทาง
การเมืองและประชาสัมพันธ์ ก็ได้ทำงานในฐานะนักวิจัยกับเฮเลน คลำร์ก (Helen Clark)
เธอจับมือกับพรรคการเมืองอื่นๆ รวม
เสียงตั้งรัฐบาลเสียงข้ำงน้อยได้สำเร็จ
เป็นนายกรัฐมนตรีด้วยวัยเพียง 37 ปีเท่านั้น
ข้อคิดของผู้บริหาร
“ไม่สำคัญว่าคุณจะมีชีวิตที่ดีหรือแย่ลง เธอยังคงปฏิบัติต่อคุณเหมือนเดิมตลอดเวลา”
“ฉันขอวิงวอนทุกท่าน ให้พูดชื่อของผู้จากไปมากกว่าชื่อของชาย
ที่เอาชีวิตพวกเขา เขาเป็นผู้ก่อการร้าย เขาเป็นอาชญากร เขา
เป็นพวกคลั่ง ดังนั้นเมื่อฉันพูดถึงเขา จะไม่มีการเอ่ยชื่อ”
“ไม่หยุดที่จะทำในสิ่งที่ดี” (Relentlessly Positive)
“เราไม่สามารถรู้ถึงความเจ็บปวดของพวกคุณ
แต่เราสามารถเดินร่วมไปกับคุณในทุกก้าว”
ผู้นำที่มีหัวก้าวหน้า และบริการงานภาครัฐได้อย่างเฉียบขาดรวดเร็ว รวมถึงมีความเห็นอกเห็นใจในเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
“จาซินดาไม่ได้สอนสั่งประชาชน แต่เธอยืนเคียงข้างพวกเขา”
กลุ่มที่ 3
ความหมายของการจูงใจ
เป็นภาวะในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทำหรือกิจกรรมของบุคคล โดยบุคคลจงใจกระทำพฤติกรรมนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
การจูงใจเป็นภาวะภายในของบุคคลที่ถูกกระตุ้นให้กระทำพฤติกรรมอย่างมีทิศทางและต่อเนื่อง
การจูงใจเป็นสภาวะที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ผู้จูงใจกำหนด
คำว่า แรงจูงใจ มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า Movere ซึ่งความหมาย ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า tomove คือ การผลักให้เคลื่อนไหวเป็นสิ่งที่โน้มน้าวหรือชักนำให้บุคคล
ความสำคัญของการจูงใจในการทำงาน
การจูงใจในการทำงานช่วยเสริมสร้างคุณค่าของความเป็นคนที่สมบูรณ์ให้บุคคล
การจูงใจช่วยเพิ่มพลังในการทำงานให้บุคคล
การจูงใจช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานของบุคคล
การจูงใจช่วยเพิ่มความพยายามในการทำงานให้บุคคล
สิ่งสำคัญของการจูงใจ
2.แรงจูงใจอย่างเดียวกัน (เกิดพฤติกรรมต่างกัน)
พฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจต้องมีเป้าหมายเสมอ
พฤติกรรมบางอย่างอาจ
ถูกจูงใจให้กระทำ
พฤติกรรมอย่างเดียวกัน (มาจากสาเหตุต่างกัน)
3.พฤติกรรมอย่างเดียวกัน (สาเหตุมาจากแรงจูงใจหลายอย่าง)
บุคคลที่อยู่ในสังคมต่างกันมักมีแรงจูงใจต่างกัน
ทฤษฎีและการศึกษาเรื่องการจูงใจ
ทฤษฎีการจูงใจของแมคเกรเกอร์
ทฤษฎีX ทฤษฎีนี้มองความเป็นมนุษย์ในแง่ไม่ดี
ทฤษฎีY ทฤษฎีนี้มองความเป็นมนุษย์ในแง่ดี
ทฤษฎีความคาดหวังของวรูม
นักจิตวิทยาในกลุ่มพุทธินิยี สร้างทฤษฎควีวามควาดหวังไว้ตั้งแต่ปีค.ศ.1964
แนวทางในการสร้างแรงจูงใจให้บุคคลทำงาน คือการสร้างความคาดหวัง การให้ตระหนักในค่านิยมต่องาน
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
"แรงจูงใจภายในมีความสำคัญสุด ความต้องการของแต่ละบุคคลเป็นศูนย์กลางของการจูงใจ“
ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic Theory)
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการความรักและสังคม (Belonging and Love Needs)
ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือในตนเอง (Esteem Needs)
ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety Needs)
ความต้องการพัฒนาศักยภาพของตน (Self-actualization)
ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย (Physiological Needs)
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก
ปัจจัยด้านตัวกระตุ้น และปัจจัยด้านการบำรุงรักษา
การบริหารงานเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้บุคลากร