Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต
ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อลดภาวะบวมน้ำปริมาตรเลือดกลับสู่ปกติ
ช่วยลด preload ได้โดยไม่มีผลต่อ cardiac output
ยาที่ออกฤทธิ์์ยับยั้งการทำงานของระบบเรนนินแองจิโอเทนซิน
กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
กลุ่ม Blockers
ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบวัตของหัวใจ
(Positive innotropics)
ยากลุ่ม Cardiac glycosides
สารสกัดจากใบของ foxglove หรือ Digitalis purpurea Digitalis (Digoxin) เป็ นยาตัวเดียวในกลุ่ม
cardiac glycosides ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+,K+-ATPase มีผลให้ sodium ions ในเซลล์มากขึ้น
มีผลเพิ่มความแรงในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ส่งผลลดการทำงาน Na+/Ca2+ exchanger
การรักษา
โดยปกติจะให้ยาแบบ loading dose ก่อน เมื่อผูป้่วยตอบสนองต่อยา จงึลดระดบัยาลง
ระดับรักษา 0.5-1.5 ng/ml ระดบัที่ก่อใหเ้กดิพษิ > 2 ng/ml
อาการข้างเคียง
ยา digitalis มีความเป็ นพิษค่อนข้างสูง การใช้ยาเกินขนาด รักษาเพียงเล็กน้อย อาจก่อให้เกิดความเป็ นพิษได้
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ, หัวใจเต้นเร็ว, ใจสนั่ คลนื่ ไสอ้าเจยีน จาก cardiac glycosides
กระตุ้น chemoreceptor trigger zone (CTZ) ในสมอง
ระบบทางเดินอาหารพบการระคายเคืองทางเดินอาหารเบื่ อาหาร ท้องเสีย
ยาออกฤทธิ์กระตุ้นอะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ (Adrenergic agonists)
กลไกการออกฤทธิ์
Dobutamine : ออกฤทธิ์กระตุ้นที่receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ
Dopamine : การใช้ใน low dose ออกฤทธิ์กระตุ้นที่dopaminergic receptor บนกล้ามเนื้อเรียบ ของหลอดเลือด
อาการข้างเคียง
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ความต้องการ O2 ของกล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น
ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรส (Phosphodiesterase inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์phosphodiesterase ในหลอดเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ มีการขยายตัว
ของหลอดเลือดแดง เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
ลด vascular resistance » เพิ่ม cardiac output
ยาลดความดันโลหิตสูง
Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs)
กลไกการออกฤกธิ์ของยา
มีผลในการป้องกนัการเกดิภาวะหวัใจโต มีผลดตี่อไต และหลอดเลอืดที่ไต
ยาในกล่มุ น้ไีดร้บัความนยิมมากกล่มุ หนี่ง เพราะมีประสทิธิภาพที่ดในการลดความดัน
สามารถใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง และมีภาวะโรคไตร่วมด้วย
อาการข้างเคียงขอยา
ความดันโลหิตต่ำ เมื่อใช้ยาเป็นครั้งแรก ต้องระวังผู้ที่ไดรับยาขับปัสสาวะปริมาณสูงหรือผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว
ที่พบบ่อย คือ อาการไอแห้งๆ
การรับรสเปลี่ยนไป ระดับโปตัสเซียมสูง
ข้อห้ามและข้อควรระมังระวังการใช้ยา
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์เพราะมีความเสี่ยงทำ ให้ทารกเกิดความผิดปกติ และมีความดันโลหิตลดลง
ผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดที่ไตตีบเพราะจะทำให้เกิดไตวายเฉียบพลันได้
Angiotensin Receptor Blockers (ARBs)
กลไกการออกฤกธิ์ของยา
ยับยั้ง angiotensin II ที่receptor A ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว หลอดเลือดขยายตัว เพิ่มการขับ Sodium และน้ำ
อาการข้างเคียงขอยา
ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำได้หากให้ร่วมกับยาขับปัสสาวะ เกิดภาวะ Hyperkalemia
ให้ผลในการรักษาและอาการข้างเคียงจะคล้ายคลึงกับการใช้ACEIs
แต่ไม่เกิดอาการไอเหมือนกับ ACEI
Beta-blockers
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยับยั้งที่จำเพาะเจาะลงต่อ Beta-1 receptor ที่หัวใจทำ ให้หัวใจเต้นช้าลง มีผลลด cardiac output (Beta-1 selective Beta-blockers เช่น Atenolol, Bisoprolol, Metoprolol)
ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Beta-2 receptor ส่งผลให้มี vasomotor tone ลดลง
(nonselective Beta-blockers เช่น Propranolol, Esmolol, Timolol)
ขยายหลอดเลือดผ่านการกระตุ้นการหลั่งสาร Nitric oxide
(Beta-1 blockers with NO-mediated vasodilatory effects เช่น Nebivolol)
ข้อห้ามและข้อควรระมังระวังการใช้ยา
ผู้ป่วยโรคหอบหืด อาจทำให้เกิดอาการมือเท้าเย็น นอนไม่หลับ ฝันร้าย เหน็ดเหนื่อย อ่อนล้า บางรายอาจเสื่อมสมรรถภาพทางเพศได
มีผลท าให้เกิด glucose tolerance และไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยเบาหวาน หรือ ผู้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสง
Calcium channel blockers
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์เป็นยาขยายหลอดเลือด ทำให้สามารถลดความดันโลหิตได้
ยาในกลุ่มนี้แต่ละตัวอาจมีผลต่อการทำงานของหัวใจต่างกัน เช่น nifedipine,amlodipine,felodipine
จะเพิ่มอัตราเต้นของหัวใจ ,verapamil, diltiazem ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
อาการข้างเคียงขอยา
พบบ่อยของยาในกลุ่มนี้ คือ เท้าบวม ปวดศีรษะ หน้าแดง nifedipine เป็นยาที่ไดรับความนิยมและมีผลข้างเคียงไม่ มากนัก
Diuretics ยาขับปัสสาวะ
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ควบคุมความดันโลหิตได้ดีขนาดยาต่ำๆ การเพิ่มขนาดยาให้สูงขึ้นไม่ทำใหผลการรักาาดีขึ้น แต่จะเพิ่มอาการไม่พึ่งประสงค์
ยาขับปัสสาวะ (Diuretic drugs)
กลุ่ม loop diuretics
ผลข้างเคียง
ผื่นคันความดันโลหิตต่ำ ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่ม ขึ้น
ตับทำงานผิดปกต
กลุ่ม Thiazide diuretics
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่บรเิวณ distal tubule มีผลเพมิ่ การขบั sodium ions และ
chloride ions จากไต
ช่วยกระตุ้นไตให้ตอบสนอง ต่อ hormone ได้ดีขึ้น
ข้อห้ามและข้อควรระวังของการใช้ยา
ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป่วยที่ได้รับยา digitalis เพราะทำให้เกิด digitalis toxicity ได้ง่าย
กลุ่ม potassium-sparing diuretics
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium ions ที่บรเิวณ collecting duct แลกกับ potassium ions มี
การเก็บ potassium ions เข้าสู่ร่างกาย
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ตะคริวที่ขา ยูเรียในเลือดสูง
กลุ่ม osmotic diuretics
กลไกออกฤทธิ์ของยา
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และนา ้ที่บรเิวณ proximal tubule,descending limb of the loop of henle และ collecting tubule ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน ้าจาก
เน้ือเยอื่ ต่างๆในร่างกายเขา้มาในกระแสเลอืด ทา ใหม้ีปรมิาณนา ้และเกลอืแร่ผ่านเขา้ไตมากขึ้น ขับน ้าและ
electrolyte ออกทางปัสสาวะได้มากขึ้น
อาการข้างเคียง
ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจยีน อาจพบโซเดียมในเลือดต่ำ
กลุ่ม carbonic anhydrase inhibitors
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ carbonic anhydrase พบมากในบริเวณ proximal tubule ส่งผลยับยั้งการ
ดูดซึมกลับของ NaHCO3 ทา ใหเ้พมิ่ การขบัปัสสาวะ
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ ง่วงซึม การรับความรู้สึกผิดไป
ยารักษาภาวะปวดเค้นอก
ยากลุ่มไนเตรท (Nitrates) และไนไตรท์ (Nitrite)
กลไกการออกฤทธิ์
ขยายหลอดเลอืดโดยการหลั่ง nitric oxide (NO) เข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
ความต้านทานของหลอดเลือดปลายทางลดลง (after load )
ความดันโลหิตลดลงดการทำงานของหัวใจ
ออกฤทธิ์ต่อเลอืดดา มากกว่าเลอืดแดง
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นเร็ว
ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
หน้าแดง ปวดมึนศีรษะ บางรายพบอาการปวดศีรษะคล้ายปวดไมเกรน เนื่องจากฤ์ทธิ์ขยายหลอดเลือดในสมอง
ยาต้านแคลเซียม (Calcium channel blocking agents)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ลดการทำงานของหัวใจได้ดี
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ Nifedipine
ขยายหลอดเลือดได้ดี มีผลต่อการทางานของหัวใจน้อย
ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั่งเบต้าอะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
(beta-blockers)
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ลดความดันโลหิต
ลดความแรงในการบีบตัวของหัวใจ ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการใช้ออกซิเจนลดลง
นิยมใช้ป้องกันการเกิดอาการเจ็บอก
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class I subgroup 1A
quinidine,procainamide, disopyramide
ใช้รักษาภาวะ ventricular arrhythmia
ผลข้างเคียง
ท้องเสีย เบื่อ อาหาร ขมในปาก วิงเวียน ปวดศรีษะ
Class I subgroup 1B
lidocaine,tocainide, mexiletine
ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน
ผลข้างเคียง
ความดนัโลหิตลดลง อาการใจสนั่ คลนื่ ไส้การไดย้นิผดิปกติพูดช้า ชัก
Class II blockers : Propanolol,Esmolol
ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ Esmolol ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน
Class III Potassium channel blocker : amiodarone, bretylium (IV), sotalol
ทำให้มีระยะ action potential ยาวนาน Amiodarone ใช้ในภาวะ ventricular arrhythmia รุนแรง และภาวะ supraventricular arrhythmia เช่น
atrial fibrillation
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดหัวใจเต้นช้าลงเกิด heart block ได้
การทำงานของตับ ไต ผิดปกติ ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสแสงแดด
อาจพบภาวะ hypo หรือ hyperthyroidism ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
Class IV กลุ่มยาต้านแคลเซียม : verapamil
กลไกการออกฤทธิ์
ทำหัวใจเต้นช้าลง โดยยับยั้งที่SA และ AV node
ภาวะ supraventricular tachycardia
ลดอัตราการทางานของ ventricular ใน atrial fibrillation
ผลข้างเคียง
การเต้นของหัวใจช้าลง หัวใจหยุดเต้น หัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตลดลง ปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ ท้องผูก
อาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย เช่น ขา เท้า
ยาละลายลิ่มเลือด
Streptokinase
เป็นโปรตีนสร้างจาก β-hemolytic streptococci ไม่มีฤทธิ์เป็นเอนไซม์ Streptokinase จับกับplasminogen ได้เป็น สารประกอบและเปลี่ยน plasminogen ได้เป็น plasmin
อาการไม่ที่พึงประสงค์
เลือดออก
เกิดการแพ้และมีไข่ได้
ยาต้านการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
Aspirin (ASA)
นอกจากเป้นยาแก้ปวดลดไข้แลวยงมีฤทธิ์ในกาต้านการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือดโดยมีผลยับยั้งการทำงานของ Cyclooxygenase ในเกล็ดเลือดอย่างถาวร
อาการข้างเคียง
ที่พบได้บ่อยมีผลระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
Clopidogrel, Ticlopidine
ยามีการยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือดโดยผ่าน ADP pathway
กลไกการเเข็งตัวของเกล็ดเลือด
เกิดจาก thromboxane A2 และ ADP จับกับ receptor ที่ผิวของเกล็ดเลือดทำให้มีการสร้างสารสื่อต่างๆ และทำให้เกล็ดจับกลุ่มกันมากขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
ทําให้เกิดภาวะ agranulocutosis จึงต้องมีการติดตามนับจำนวนเม็ดเลือดขาวในระยะ 3 เดือนแรกของการให้ยา
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
กลไกการแข็งตัวของเลือดประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 มีการสร้าง thromboplastin จากปัจจัยภายใน (intrinsic factors) และภายนอก (extrinsic
factors)
ขั้นที่ 2 thromboplastin ทําหน้าที่เป็น proteolytic enzyme มาย่อย prothrombin ให้กลายเป็น
thrombin
ขั้นที่ 3 thrombin จะทําหน้าที่เป็น proteolytic enzyme มาย่อย fibrinogen เป็น fibrin ซึ่งจะ
รวมตัวกันกลายเป็น clot
Heparin
จะยับยั้งการแข็งตัวของเลือดทั้งภายในและภายนอกร่างกายทันท
จะจับกับ antithrombin และยับยั้ง clotting factor
จะไปเร่งอัตราการทําลาย thrombin
ต้องบริหารโดยการฉีดเข้าสู่ร่างกาย นิยมฉีดเข้าทางหลอดเลือดดําและฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ห้ามฉีดเข้ากล้ามเนื้อเนื่องจากการ
ดูดซึมไม่แน่นอนและอาจเกิดเลือดออกเฉพาะที่
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มฤทธิ์ของ antithrombin lllในการยับยั้งการทำงานของthrombin และ factor Xa IXa XIa XIIa และ Kallikrein (Intrinsicpathway) โดยทําหน้าที่เป็น catalytic template เร่งให
ข้อห้ามใช้ยา
Heparin ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้
ผู้ป่วยที่มีภาวะเกร็ดเลือดตํ่าขั้นรุนแรง
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
Heparin ในขนาดต่ำใช้ในการป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดในภาวะที่มีอัตราเสี่ยงสูงโดยนิยทฉีดเข้าใต้ผิวหนังบริเวรท้อง
Heparin ในขนาดปานกลางใช้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ warfarin ได้ เช่นหญิงมีครรภ์ที่มีประวัติของการอุดตันในหลอดเลือดดำลึก
Warfarin
ยานี้มีฤทธิ์ต้านวิตามิน K ออกฤทธิ์โดยยับยั้งขั้นตอนสุดท้ายของการสังเคารห์ปัจจัยการแข็งตัว
ของเลือดต่าง ๆ ที่ตับ
ฤทธยิ์บัยงั้การแขง็ตวัของเลอืดจะเกดิขน้ึสงูสุดภายใน 2-3 วัน
อาการไม่พึงประสงค์
อาการเป็นพิษที่สําคัญคือเลือดออก ถ้าเกิดที่อวยัวะภายในที่สําคัญ
ทำให้เกิดการเสียเลือดในทางเดินอาหาร ภายในเยื่อบุช่องท้องอย่างมากในคนสูงอายุที่ใช้ยานี้เป้นเวลานาน
ห้ามใช้
ในหญิงตั้งครรภ์
ยาขับปัสสาวะ
กลุ่ม loop diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่ท่อไตบรเิวณ thick ascending limb
ของ henle’s loop
ลดการดูดซึมที่บริเวณ proximal tubule
เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดที่ไต
อาการข้างเคียง
ผื่นคันความดันโลหิตต่ำ
ระดับ potassium ในเลือดต่ำก่อให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้
ระดับ magnesium ในเลือดต่ำ
ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
กลุ่มThiazide Diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่บรเิวณ distal tubule มีผลเพิ่มการขับ sodium ions และ
chloride ions จากไต
เพิ่มการขับ potassium ions ทำให้ร่างกายสูญเสีย potassium ions เพิ่มการดูดซึมกลับของ calcium ions
อาการข้างเคียง
ระดับ K ในลือดต่ำทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ และอาจเสียชีวิตได้
ระดับกรดยูริกในเลือดสูง (hyperurecemia)
ระดับน้าตาลในเลือดสูง (hyperglycemia)
กลุ่ม potassium-sparing diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium ions ที่บรเิวณ collecting duct แลกกับ potassium ions มี
การเก็บ potassium ions เข้าสู่ร่างกาย
ช่วยลดการสูญเสีย potassium ions
ยับยั้งการทำงานของ aldosterone โดยปิดกั้นที่aldosterone receptor
อาการข้างเคียง
คลนื่ ไส้อาเจยีน วิงเวียน ปวดศรีษะ
ตะคริวที่ขา
ยูเรียในเลือดสูง
กลุ่ม Osmotic diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และน้ำที่บรเิวณ proximal tubule,descending limb of the loop of henle และ collecting tubule ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน้ำจาก เนื้อเยื่อ ต่างๆในร่างกายเข้ามาในกระแสเลือด ทำให้มีปริมาตรน้ำและเกลือแร่ผ่านเข้าไตมากขึ้น ขับน้ำและ
electrolyte ออกทางปัสสาวะได้มากขึ้น
อาการข้างเคียง
ปวดศรีษะ คลื่น ไส้อาเจียน อาจพบโซเดียมในเลือดต่ำ
การใช้ยาในขนาดสูงอาจให้เกิดภาวะขาดน้ำ
กลุ่ม Carbonic Anhydrase inhibitors
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ carbonic anhydrase พบมากในบริเวณ proximal tubule ส่งผลยับยั้งการ
ดูดซึมกลับของ NaHCO3 ทา ใหเ้พมิ่ การขบัปัสสาวะ
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ
ง่วงซึม
การรับความรู้สึกผิดไป
ร้อนวูบวาบ
เบอื่ อาหาร (anorexia)
หูอื้อ (tinitus)
เนื้อตับตาย (hepatic necrosis)
นิ่วในไต
ภาวะร่างกายเป็ นกรดจากระดับ chloride ในเลือดสูง