Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือดและไต, A6380041 นางสาวเบญญาทิพย์ บาลโสง…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือดและไต
ยาลดความดันโลหิตสูง
4.Calcium channel blockers
ออกฤทธิ์เป็นยาขยายหลอดเลือด ทำให้สามารถลดความดันโลหิตได้
ผลข้างเคียง:เท้าบวม ปวดศีรษะ หน้าแดง
Diuretics ยาขับปัสสาวะ
กลไกการออกฤทธิ์:ควบคุมความดันโลหิตได้ดีที่ขนาดยาต่ำๆ
3.Beta-blockers
กลไกการออกฤทธิ์ลดความดนัโลหิตผ่านหลายกลไก:ลดการหลั่งสาร Norepinephrine และ Renin ยับยั้งที่จำเพาะเจาะลงต่อ Beta-1 receptor ที่หัวใจทำให้หัวใจเต้นช้าลง มีผลลด cardiac output
-ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Beta-2 receptor
-ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Alpha-1 receptor
-ขยายหลอดเลอืดผ่านการกระตุน้การหลั่งสาร Nitric oxide
ข้อห้ามใช้:ผู้ที่มีภาวะ acute decompentsated heart failure ผู้ป่วยโรคหอบหืด
ข้อควรระวัง:มีผลทำให้เกิด glucose tolerance และไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยเบาหวาน
2.Angiotensin Receptor Blockers (ARBs)
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้ง angiotensin II ที่receptor AT1 ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว หลอดเลือดขยายตัว เพิ่มการขับ Sodium และน้ำ
ผลข้างเคียง:ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำได้หากให้ร่วมกับยาขับปัสสาวะ เกิดภาวะ Hyperkalemia
1.Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs)
ข้อห้ามใช้:
-ผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดที่ไตตีบเพราะจะทำใหเกิดไตวายเฉียบพลันได้
-ห้ามใชใ้นสตรมีครรภเ์พราะมีความเสี่ยงทำให้ทารกเกิดความผิดปกติ และมีความดันโลหิตลดลง
ผลข้างเคียง:ที่พบบ่อย คือ อาการไอแห้งๆ
ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
3.กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
:ลด preload, afterload ลดการทางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ยา Hydralazine และ Isosorbine dinitrate :ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้
ยา Glyceryl trinitrate:ใช้ในกรณีเกิดอาการหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลันและมีอาการปอดบวมน้ำร่วมด้วย เพื่อช่วยลดความดันในช่องปอด
4.กลุ่ม Blockers
:ได้แก่ยา Carvedilol, Metropolol,Bisopolol
กลไกการออกฤทธิ์:ยาทำให้หัวใจเต้นช้าลง นิยมใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม ACEIs หรือ ARBs และ Diuretics
2.ยาที่ออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของระบบเรนินแองจิโอเทนซิน
ยากลุ่ม ARBs :ใช้ในกรณีผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงจากการใช้ยาในกลุ่มACEIs
ยากลุ่ม ACE Inhibitors :นิยมใช้เพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค
5.ยาที่ออกฤทธิ
์กระตุน้การบบีตวัของหวัใจ (Positive innotropics)
5.2 ยาออกฤทธิ์กระตุน้อะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์
(Adrenergic agonists)
ได้แก่dopamine, dobutamine
กลไกการออกฤทธิ์
:Dobutamine : ออกฤทธิ์กระตุ้นที่receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ ส่งผลเพิ่ม cardiac output
Dopamine : การใช้ใน low dose ออกฤทธิ์
์กระตุน้ที่dopaminergic receptor บนกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
อาการข้างเคียง:อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น ความต้องการ O2 ของกล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น
5.3 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
ฟอสโฟไดเอสเทอเรส (Phosphodiesterase inhibitors)
ได้แก่ Milrinone
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ phosphodiesterase ในหลอดเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ มีการขยายตัว
ของหลอดเลือดแดง เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
อาการข้างเคียง:หัวใจเต้นผิดจังหวะ, เจ็บอก,ความดนัโลหิตต่ำ,ปวดศีรษะ
5.1 ยากลุ่ม Cardiac glycosides
กลไกการออกฤทธิ์:ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+,K+-ATPase มีผลให้ sodium ions ในเซลล์มากขึ้น ส่งผลลดการทำงาน Na+/Ca2+ exchanger มีผลเพิ่มความแรง ในการหดตัวของกลา้มเนื้อหัวใจ
อาการข้างเคียง :- การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ, หัวใจเต้นเร็ว, ใจสั่น,
คลื่นไสอ้าเจียน จาก cardiac glycosides
1.ยาขับปัสสาวะ (Diuretics) รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อลดภาวะบวมน้ำ ปริมาตรเลือดกลับสู่ปกติ ช่วยลด preload ได้โดยไม่มีผลต่อ cardiac output
ยาขับปัสสาวะ (Diuretic drugs)
2.กลุ่ม Thiazide diuretics
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่บรเิวณ distal tubule มีผลเพมิ่ การขบั sodium ions และchloride ions จากไต
อาการข้างเคียง: ระดับ K ในเลือดต่ำทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ และอาจเสียชีวิตได้ ระดับกรดยูริกในเลือดสูง ระดับน้าตาลในเลือดสูง
ข้อห้ามใช้:ไม่ควรใช้ยาบ่อยครั้งหรือใช้ยาขนาดสูงในผู้ป่วยตับแข็ง ไตวาย หัวใจล้มเหลว เบาหวาน และโรคเก๊าท์ ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป้วยที่ได้รับยา digitalis เพราะทำให้เกิด digitalis toxicity ได้ง่าย
3.กลุ่ม potassium-sparing diuretics
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium ions ที่บรเิวณ collecting duct แลกกับ potassium ions มีการเก็บ potassium ions เข้าสู่ร่างกาย
ยับยั้งการทำงานของ aldosterone โดยปิดกั้นที่aldosterone receptor
อาการข้างเคียง:คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน ปวดศรีษะ ตะคริวที่ขา
1.กลุ่ม loop diuretics
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaCl ที่ท่อไตบรเิวณ thick ascending limbของ henle’s loop
อาการข้างเคียง:ผื่นคัน ความดนัโลหิตต่ำ ระดับ potassium ในเลือดต่ำ ก่อให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ ตับทำงานผิดปกติ
4.กลุ่ม osmotic diuretics
กลไกการออกฤทธิ์:- ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และน้ำที่บรเิวณ proximal tubule, descending limb of the loop of henle และ collecting tubule ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน้ำจากเนื้อเยื่อต่างๆในร่างกายเข้ามาในกระแสเลือด ทำให้มีปริมาณน้ำและเกลอืแร่ผ่านเข้าไตมากขึ้น ขับน้ำและelectrolyte ออกทางปัสสาวะได้มากขึ้น
อาการข้างเคียง :ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาจพบโซเดี่ยมในเลือดต่ำ
5.กลุ่ม carbonic anhydrase inhibitors
กลไกการออกฤทธิ์:ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ carbonic anhydrase พบมากในบริเวณ proximal tubule ส่งผลยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaHCO3 ทา ใหเ้พมิ่ การขบัปัสสาวะ
อาการข้างเคียง:ปวดศีรษะ ง่วงซึม ร้อนวูบวาบ เบื่ออาหาร หูอื้อ
ยารักษาภาวะเจ็บเค้นหน้าอก
Angina pectoris
1.ยากลุ่มไนเตรท (Nitrates) และไนไตรท์ (Nitrite)
กลไกการออกฤทธิ์:ขยายหลอดเลอืดโดยการหลั่ง nitric oxide (NO) เข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด กระตุ้น guanylate cyclase ใน cytoplasm
ทำให้เกิดกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหลอดเลือดดำ
ขยายตัว เลือดไหลกลับหัวใจลดลง ลดปริมาณเลือดในห้องหัวใจ (preload )
อาการข้างเคียง:หัวใจเต้นเร็ว
2.ยาต้านแคลเซียม
(Calcium channel blocking agents)
กลไกการออกฤทธิ์:ออกฤทธิ์
์ลดการทำงานของหวัใจได้ดีลด อัตราการเต้นของหัวใจ Nifedipine ขยายหลอดเลือดได้ดี มีผลต่อการทางานของหัวใจน้อย
3.ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเบต้าอะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
(beta-blockers)
กลไกการออกฤทธิ์:ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ลดความดันโลหิต
ยาละลายลิ่มเลือด
Streptokinase::สารประกอบ Streptokinase-plasminogen จะไม่ถูกยับยั้งโดย α2-antiplasmin ต้องให้ Streptokinase ขนาดสูงในครั้งแรกฉีดเข้าหลอดเลือดดำ เพื่อให้ antibodyต่อStreptokinaseซึ่งมีอยู่ในเลือดทำลายStreptokinase
อาการไม่ที่พึงประสงค์:เลือดออก เกิดการแพ้และมีไข้ได้
Aspirin (ASA)
อาการข้างเคียง:ที่พบได้บ่อยมีผลระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Clopidogrel, Ticlopidine
กลไกการออกฤทธิ์:มีผลยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือดโดยผ่านทาง ADP pahtway ฤทธิ์ของยาจะเกิดขึ้นเต็มที่หลังจากได้รับยาไปแล้ว3-5วันและฤทธิ์ยังคงอยู่หลังหยุดยาแล้ว10วัน
อาการไม่พึงประสงค์:ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร อาเจียน ท้องเดิน
ทำให้เกิดภาวะ agranulocutosis จึงต้องมีการติดตามนับจำนวนเม็ดเลือดขาวในระยะ3เดือนแรกของการให้ยา
ข้อห้ามใช้:หญิงตั้งครรภ์, ให้นมบุตร
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class II blockers : Propanolol,Esmolol
ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ Esmolol ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน
Class III Potassium channel blocker : amiodarone, bretylium (IV), sotalolทำให้มีระยะ action potential ยาวนาน
Amiodarone ใช้ในภาวะ ventricular arrhythmia รุนแรง และภาวะ supraventricular arrhythmia เช่น atrial fibrillation
ผลข้างเคียง:ทำให้เกิดหัวใจเต้นช้าลงเกิด heart block ได้ การทำงานของตับ ไต้ ผิดปกติผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสแสงแดด
Class I sodium channel-blockers
Class I subgroup 1B
: lidocaine,tocainide, mexiletine
ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน
ผลข้างเคียง:ความดนัโลหิตลดลง
อาการใจสั่น คลื่นไส้ การได้ยินผิดปกติพูดช้า ชัก
Class I subgroup 1A
:quinidine,procainamide, disopyramide
ใช้รักษาภาวะ ventricular arrhythmia
ผลข้างเคียง:ทอ้งเสยี เบอื่ อาหาร ขมในปาก วิงเวียน ปวดศรีษะ
Class I subgroup 1C: flecainide,propafenone
Class IV กลุ่มยาต้านแคลเซียม : verapamil
กลไกการออกฤทธิ์:ทำให้หัวใจเต้นช้าลง โดยยับยั้งที่SA และ AV node
ลดอัตราการทางานของ ventricular ใน atrial fibrillation
ผลข้างเคียง:การเต้นของหัวใจช้าลง หัวใจหยุดเต้น หัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตลดลง ปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ ท้องผูก ขา เท้าบวม
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
Heparin
กลไกการออกฤทธิ์:เพิ่มฤทธิ์ของantithrombin lll ในการยับยั้งการทำงานของthrombin และ factor Xa, lXa, Xla, Xlla และKallikrein
ข้อห้ามใช้ยา:Heparin ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้ ผู้ป่วยที่มีภาวะเกร็ดเลือดตํ่าขั้นรุนแรง
Warfarin
กลไกการออกฤทธิ์:ยานี้มีฤทธิ์ต้านวิตามิน K ออกฤทธิ์ดโดยยับยั้งขั้นตอนสุดทา้ยของการสังเคราะห์ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดต่าง ๆ ที่ตับฤทธิ์ยับยั้งการแข็งตัวของเลือดจะเกิดขึ้นสูงสุดภายใน 2-3 วัน
อาการไม่พึงประสงค์:อาการเป็นพิษที่สําคัญคือเลือดออก ถ้าเกิดที่อวยัวะภายในที่สําคัญ เช่นภายในสมอง ไขสันหลัง เยื่อหุ้มหัวใจ จะทําให้บริเวณนี้ถูกกดและถูกทําลายอย่างถาวร
ห้ามใช้:ในหญิงตั้งครรภ์
A6380041 นางสาวเบญญาทิพย์ บาลโสง