Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 78 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 78 ปี
PI: 1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล เดินล้มเอง ปวดสะโพกขวาเดินไม่ได้ญาตินําส่งโรงพยาบาล
CC: ล้ม ปวดสะโพกขวา 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
โรคประจำตัว
Diabetes Mellitus (DM)
ขบวนการ cellular-mediated ของระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ
ทำลายเบตาเซลล์ใน islet of langerhan
ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้
จึงหลั่งอินซูลินได้ลดลง
ร่างกายนำคาร์โบไฮเดรตและไขมันไปใช้
จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของผนังหลอด
1 more item...
เลือดจะมีความหนืดมาก
1 more item...
19/07/64
1 more item...
20/07/64
1 more item...
Hypertension (HT)
Closed fracture right neck of femur กระดูกข้อสะโพกขวาหักแบบปิด
Total Hip Replacement: THR
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
ผู้ป่วยมีการเสียเลือดระหว่างผ่าตัด
ทำให้ค่าความเข้มข้นของเลือดต่ำ
เกิดภาวะซีด
ผู้ป่วยมีเยื่อบุตาซีดเล็กน้อย
อ่อนเพลีย
ในวันผ่าตัด Hct = 27%
หลังผ่าตัด Hct = 30%
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 มีภาวะซีดจากการเสียเลือดในการผ่าตัดและหลังการผ่าตัด
1.ประเมินภาวะซีด เช่น บริเวณปลายมือปลายเท้า บริเวณเยื่อบุตา
2.ดูแลให้ได้รับ PRC 1 U stat
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS 1000 cc rate 80 cc/hr.
5.ดูแลให้ได้รับยา FSL 1 x 3 oral pc ผลข้างเคียงของยา ท้องผูก ท้องร่วง ปวดท้อง หรือท้องไส้ปั่นป่วน
6.ดูแลลดกิจกรรมให้กับผู้ป่วย เช่น นำของใช้ที่จำเป็นมาวางไว้ใกล้ ๆ ตัวผู้ป่วย
7.ดูแลให้นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบไม่มีเสียงดังรบกวน
9.บันทึกปริมาณเลือดภายใน Radivac drain
การประเมินผล
1.พบภาวะซีด เช่น เยื่อบุตาซีดลดลง
2.มีเลือดซึมลดลงออกมาจากแผลผ่าตัด
on Radivac drain
เสียเลือดใน OR 150 cc หลังกลับจาก OR 100 cc มี discharge ซึม สีเลือดสด ประมาณ 50 cc
ร่างกายได้รับการบาดเจ็บ
เนื้อเยื่อและเส้นประสาทถูกทำลาย
กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง prostaglandin,histamine
กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด
เนื้อเยื่อไวต่อความเจ็บปวดมากขึ้น
ปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด
นำส่งไปตามใยประสาท A เดลต้า และเส้นใยประสาท C ไปยังไขสันหลัง
1 more item...
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 4 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะข้อสะโพกเทียมเคลื่อนหรือหลุด
O: จากการสังเกตพบว่าผู้ป่วยขยับบ่อยครั้ง บ่นปวดบริเวณข้อสะโพกเทียม
กิจกรรมการพยาบาล
ให้คำแนะนำกับผู้ป่วยว่าหลังผ่าตัด 6 สัปดาห์แรก
ดูแลจัดท่านอนดูแลจัดท่านอน โดยนอนราบหัวสูง 30 องศา ขาข้างที่ผ่าตัดกางออก ประมาณ 15-30 องศา โดยใช้หมอนวางระหว่างขาทั้งสองข้าง
ดูแลช่วยเหลือในการพลิกตะแคงตัวให้ผู้ป่วย โดยให้ตะแคงตัวไปข้างที่ไม่ทำผ่าตัด
สอนและให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการบริหารร่างกาย
ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยให้ยืน เดิน นั่ง อย่างปลอดภัย
สอนแนะนำให้ความรู้กับผู้ป่วยและญาติเพื่อป้องกันภาวะข้อสะโพกเทียมเคลื่อนหลุด
การประเมินผล
บ่นปวดบริเวณข้อสะโพกเทียมลดลง
ขาไม่ผิดรูป บิดหมุนออกหรือบิดเข้าใน
สะโพกไม่บวม
สามารถดูแลขยับตัวได้ถูกต้อง
ในการผ่าตัดผู้ป่วยมีความวิตกกังวล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 8 ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
กิจกรรมพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพโดยการเข้าไปพูดคุยซักถามและเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ประเมินภาวะความวิตกกังวลของผู้ป่วยจากสีหน้าท่าทางและคำบอกเล่า
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยวิตกกังวล พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามปัญหา
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัด
5.ดูแลแนะนำกระตุ้นให้ผู้ป่วยบริหารร่างกาย
ทบทวนติดตามการออกกำลังกาย และประเมินผลเป็นระยะ
การประเมินผล
1.สีหน้าของผู้ป่วยมีความวิตกกังวลน้อยลง
2.ผู้ป่วยสามารถตอบวิธีการปฏิบัติดูแลตนเองก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัดได้มากกว่า 3 ข้อ
3.ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ถูกต้อง
การปฏิบัติตัวก่อนผ่าตัด
ทำความสะอาดร่างกาย ตัดเล็บให้สั้น
สระผม งดน้ำงดอาหาร ห้ามทาแป้ง ถอดเครื่องประดับ ถอดฟันปลอม
การปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
1 วันแรก
ผู้ป่วยได้รับยาชา spinal block
ควรนอนราบ (หนุนหมอนต่ำๆ) และสอดหมอนสามเหลี่ยมตลอดเวลาเพื่อป้องกันข้อสะโพกเคลื่อนหลุด หลังจากนั้นท่านสามารถปรับเตียงนอนให้หัวสูงได้ 30-45 องศาหากแพทย์เห็นสมควร
กระดกข้อเท้าขึ้นลง เพื่อลดอาการบวมและป้องกันหลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม.เอาขาข้างที่ทำการผ่าตัดขึ้นก่ายหมอนข้าง ระวังไม่ให้ Radivac drain เลื่อนหลุด
ข้อห้ามหลังผ่าตัด
ชันเข่าเกิน 90 องศา , หุบขา , ไขว้ห้าง , นั่งยองๆ , นั่งกับพื้น , นั่งเก้าอี้เตี้ย
ก้มหรือโน้มตัวมากเกินไป
ตะแคงตัวทับข้างที่ผ่าตัด จนกว่าแพทย์จะอนุญาต
ท่านอน
นอนหงายให้ขาข้างที่ผ่าตัดกางไว้ แล้วใช้หมอนแทรกระหว่างขา
ตะแคงขาข้างที่ผ่าตัดขึ้นบน ใช้หมอนแทรกระหว่างขา ให้ขากางไว้
อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนกำหนด
แผลผ่าตัดอักเสบ บวม-แดง มีเลือด น้ำเหลืองซึม มีไข้ สะโพกผิดรูป
ชนิดของการผ่าตัด
hemiarthroplasty
การผ่าตัดที่เปลี่ยนเฉพาะส่วนหัวกระดูกต้นขาโดยไม่ได้เปลี่ยนเบ้า
total hip arthroplasty
การผ่าตัดที่เปลี่ยนทั้งส่วนหัวกระดูกต้นขาและเบ้าสะโพก
มีแรงมากระทํากับกระดูก
ทําให้Neck หรือ Geater trochanter ของกระดูก
femur งัดกับขอบของ Acetabulum
Head of femur จึงหลุดไปด้านหน้า
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็น จึงหดรัดตัวเกิดการดึงรั้ง
กล้ามเนื้อรอบๆกระดูกได้รับการบาดเจ็บ
เกิดปฏิกิริยาการอักเสบ
มีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายทำให้เซลล์ถูกทำลาย
หลั่ง Histamine
1 more item...
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 6 พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องกระดูกข้อสะโพกขวาหัก
O: จากการสังเกตพบว่าผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
1.ดูแลให้ได้รับสารน้ำ0.9%NSS 1000 ml rate 80 cc/hr.
2.ช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันให้กับผู้ป่วย
3.จัดท่าให้ผู้ป่วยหลังกลับจากผ่าตัดให้กางขาอย่างน้อย 30 องศา ใน 24 ชั่วโมงให้เอาหมอนมากั้นระหว่างขา ให้เขาทั้งสองข้างห่างกัน
4.ส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
5.จัดสิ่งแวดล้อมรอบข้างตัวผู้ป่วยให้เหมาะสม
การประเมินผล
1.Pain score ลดลงน้อยกว่า 5 คะแนน
2.ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้เพิ่มขึ้น