Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนครั้งที่ 4 - Coggle Diagram
สรุปการเรียนครั้งที่ 4
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการวิจัย
นวัตกรรม
สิ่งที่ไม่เคยมีมาก่อน
การพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว
ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
นวัตกรรมทางการศึกษา
นำนวัตกรรมเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา
เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิม
ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว
เกิดแรงจูงใจในการเรียน
ช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน
ตัวอย่าง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
วิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video)
สื่อหลายมิติ (Hypermedia)
อินเทอร์เน็ต
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมสื่อการสอน
นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
นวัตกรรมการบริหารจัดการ
ลักษณะนวัตกรรมที่ดี
เป็นสิ่งใหม่
เน้นใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์
เป็นประโยชน์
เป็นที่ยอมรับ
มีโอกาสในการพัฒนา
ตัวอย่างนวัตกรรมแหล่งการเรียนรู้
บล็อก
โปรแกรมค้นหา
ห้องเรียนออนไลน์
เด็กดีดอทคอม
eDLTV
youtube
โทรทัศน์ครู
วิชาการดอทคอม
ตัวอย่างนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบเน้นกระบวนการคิด
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงการเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
ตัวอย่างนวัตกรรมเทคนิค วิธีการ หรือกิจกรรม
การแข่งขันเกมส์เป็นทีม
จิกซอว์
เกมส์
การต่อเติมเรื่องราว
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
วิธีสอนโดยใช้การทดลอง
ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
1.การระบุปัญหา
2.การกาหนดจุดมุ่งหมาย
3.การศึกษาข้อจากัดต่างๆ
4.การประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรม
5.การทดลองใช้
6.การเผยแพร่
เครื่องมือและวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภท
เครื่องมือทางด้านสังคมศาสตร์และศึกษาศาสตร์
เก็บข้อมูลที่เป็นนามธรรม
ลักษณะภายในตัวบุคคล
ใช้เครื่องมือเข้าไปกระตุ้นผู้ให้ข้อมูลแสดงพฤติกรรมตอบสนอง
การเก็บข้อมูลทางอ้อม
โอกาสผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ง่าย
เครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์
ใช้ในห้องทดลองหรือภาคสนามก็ได้
เก็บข้อมูลที่เป็นรูปธรรมและสังเกตได้
ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองและการวิจัยประยุกต์
แบบสอบถาม (Questionnaire)
แบบสอบถามปลายเปิด (Open-Ended Form)
คำถามเปิดกว้างให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น
ข้อดี
ให้โอกาสผู้ตอบคำถามแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ได้ข้อมูลเชิงลึกตรงกับความเป็นจริง
ข้อจำกัด
วิเคราะห์ข้อมูลยาก
นำเสนอยาก
ผู้ตอบอาจไม่ตอบคำถาม
แบบสอบถามปลายปิด (Close-Ended Form)
กำหนดตัวเลือกแน่นอนในข้อคำถาม
ข้อดี
ข้อมูลวิเคราะห์และสรุปง่าย
นำเสนอได้ถูกต้อง
ผู้ตอบสะดวกในการตอบ
ข้อจำกัด
ผู้ตอบไม่สามารถตอบนอกเหนือตัวเลือกได้
เขียนแสดงความคิดเห็นไม่ได้
อาจได้ข้อมูลไม่ตรงความจริง
รูปแบบ
แบบเลือกตอบ
แบบตอบสั้น
แบบจับคู่
แบบถูก-ผิด
แบบจัดลำดับ
แบบมาตราส่วนประมาณค่า
ลักษณะ
เป็นชุดคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อใช้วัดทัศนคติความคิดเห็น หรือความพึงพอใจ
ผู้ให้ข้อมูลจะเป็นผู้ตอบคาถามด้วยตนเอง
วิธีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
การส่งแบบสอบถามด้วยตนเองนักวิจัยพบผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
แบบสัมภาษณ์ (Interview Form)
แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview Form)
คำถามถูกกำหนดขึ้นอย่างเป็นขั้นตอนเรียงหัวข้อคำถามต่อเนื่อง
มีทั้งแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดคล้ายแบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์ที่ไม่มีโครงสร้าง (Non-Structured Interview Form)
มีข้อคำถามประเด็นหลักสำหรับเปิดการสัมภาษณ์
คำตอบที่ได้จะเป็นอย่างไรก็ได้
ผู้สัมภาษณ์ต้องมีทักษะในการควบคุมสถานการณ์
ข้อดี
ได้ข้อมูลเชิงลึก
ขึ้นอยู่กับความร่วมมือของผู้ให้ข้อมูล
ข้อจำกัด
หลงประเด็นได้ง่าย
ยากต่อการบันทึก
ข้อดี
การสัมภาษณ์จะได้ข้อมูลตรงจากผู้ให้ข้อมูล
ผู้สัมภาษณ์สามารถสังเกตลักษณะท่าทาง การพูด สีหน้าของผู้ให้ข้อมูล
สามารถอธิบายเพิ่มเติมถ้าผู้ให้ข้อมูลไม่เข้าใจคาถาม
ข้อจำกัด
เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก
การฝึกผู้สัมภาษณ์ให้มีทักษะการสัมภาษณ์
ซักซ้อมความเข้าใจให้ตรงกันต้องใช้เวลามาก
การสังเกต (Observation)
สิ่งที่ควรสังเกต
สังเกตกายภาพภายนอก
สังเกตกิริยาท่าทาง
สังเกตการณ์ใช้ภาษา
สังเกตการแสดงออกทางตาแหน่งที่สัมพันธ์กับการทำหน้าที่
สังเกตการใช้เวลา
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation)
ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มผู้ถูกสังเกต
ใช้เวลาสร้างสัมพันธภาพ
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation)
ผู้สังเกตเฝ้าติดตามกลุ่มผู้ถูกสังเกตห่างๆ
ข้อดี
ได้ข้อมูลจากผู้ถูกสังเกตโดยตรงข้อมูลน่าเชื่อถือ
ผู้สังเกตไม่ต้องเผชิญหน้ากับผู้สังเกตทำให้ไม่เครียด
ข้อจำกัด
การเฝ้าสังเกตจะใช้เวลามาก
ไม่ทราบว่าพฤติกรรมที่ต้องการสังเกตจะเกิดขึ้นเมื่อไร
ไม่สามารถควบคุมเวลาได้
แบบทดสอบ (Test)
การวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ความรู้จำ (Knowledge)
ความเข้าใจ (Comprehension)
การนำไปใช้ (Application)
วิเคราะห์ (Analysis)
สังเคราะห์ (Synthesis)
สังเคราะห์ (Synthesis)
2 ลักษณะ
แบบทดสอบแบบปรนัย (Objective Test)
ข้อคำถามแบบตอบสั้น (Short-Answer Item)
ข้อคำถามแบบเติมคา (Completion Item)
ข้อคำถามแบบถูก-ผิด (True False Item)
ข้อคำถามแบบจับคู่ (Matching Item)
ข้อคำถามแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Item)
แบบทดสอบแบบอัตนัย (Essay Test)
ขาดคุณลักษณะ 3 ประการ
ข้อคำถามมีความหมายเข้าใจได้ตรงกัน
ผู้ตรวจสามารถตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน
สามารถแปลความหมายของคะแนนได้ตรงกัน
ข้อคำถามแบบความเรียง (Essay Item)
ต้องเขียนข้อความเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อตอบคำถาม
การตรวจให้คะแนนทำได้ยาก
ผู้ตรวจต้องมีความชำนาญ