Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Drug interactions & incompatibility 1632236, วิตามินบีรวม, ติกเกิ…
Drug interactions & incompatibility
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse drug reaction)
ความหมาย
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อยาโดยไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เกิดได้แม้ใช้ขนาดยาปกติ ซึ่งไม่รวมจากการใช้
ขนาดยาสูงหรือใช้ในทางที่ผิด
Type A หรือ ผลข้างเคียงจากการใช้ยา (side effect)
ผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
สามารถทำนายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ex.กินยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำมากกว่าปกติ
Type B หรือ การแพ้ยา (drug allergy)
ไม่มีความสัมพันธ์กับขนาดยา – เกิดได้แม้ให้ยาใน
ขนาดปกติ หรือได้รับยาเพียงเล็กน้อย
ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังจากที่เคยได้รับยาชนิดนั้นมาก่อน แล้วไปกระตุ้น
ให้ร่างกายสร้าง antibodies
ไม่สามารถทำนายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา (Drug interactions)
อันตรกิริยาระหว่างยา (Drug interaction; DI)
คือการให้ยา2ตัว แล้วมันตีกัน
การพิจารณาความรุนแรงของ DI
Onset - rapid
(ผลเกิดชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากให้ยาร่วมกัน ซึ่งจำเป็นต้องเตรียมพร้อมเพื่อการแก้ไขทันที) หรือ delayed (ผลที่เกิดขึ้นยังไม่ชัดเจน จนกว่าจะใช้ยาร่วมกันเป็นเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ ไม่จำเป็นต้องแก้ไขทันที)
Severity - ความรุนแรงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
Major (รุนแรงมากถึงชีวิตหรือเสียหายถาวร)
Moderate (ผลปานกลาง ทำให้อาการของผู้ป่วยแย่ลง ต้องนอนรักษาตัวนานขึ้น)
Minor (ผลเกิดน้อย ไม่จำเป็นต้องรักษา เพียงมีการติดตามเฝ้าระวัง)
Documentation - หลักฐานเอกสารทางวิชาการที่แน่ชัด
ยาที่ต้องเฝ้าระวังการเกิดอันตรกิริยากับยากลุ่มอื่น
ยาที่มีดัชนีการ
รักษาแคบ (Narrow Therapeutic window)
ex. Warfarin, digoxin, theophylline, phenytoin, cyclosporine, tacrolimus
Fatal Drug Interaction
คู่ยาที่มีรายงานการเกิดอันตรกิริยาระหว่างกันจนเป็นเหตุให้เกิดอาการต่างๆ ที่รุนแรงจนอาจเกิดการเสียชีวิต
Contraindication Fatal Drug Interaction ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน
Monitoring Fatal Drug Interaction ใช้ร่วมกันได้แต่ต้องเฝ้าระวังการอาการผู้ป่วย อย่างใกล้ชิด
Drug antagonism
การขัดขวางการออกฤทธิ์ที่พบได้เมื่อใช้ยาตัวหนึ่งร่วมกับยาหรือสารอีกชนิดหนึ่ง แบ่งได้ 5 แบบ
Non-competitive antagonism
การขัดขวางฤทธิ์โดยสาร 2 ชนิด ชนิดหนึ่งเป็น agonist อีกชนิดเป็น antagonist แย่งจับ receptor ตำแหน่งที่ต่างกัน
agonist + non-competitive antagonist → การตอบสนองสูงสุด
ของ agonist ลดลง
Competitive antagonism
การขัดขวางฤทธิ์โดยสาร 2 ชนิด คือ การที่ยา2ตัววิ่งมาจับที่เดียวกันของ receptor ชนิดเดียวกัน ตำแหน่งเดียวกัน
agonist + competitive antagonist → agonist จับกับ receptor
ได้ลดลง ผลของยาก็จะลดลง
Physiological antagonism
Functional antagonism
สาร 2 ชนิดออกฤทธิ์บนเนื้อเยื่อเดียวกันแต่มี
ผลตอบสนองขัดขวางกันหรือตรงข้ามกัน
ex. histamine : กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัวผ่าน histamine receptor
Chemical antagonism
การขัดขวางฤทธิ์ที่เกิดขึ้นเมื่อสาร 2 ชนิดทำปฏิกิริยาเคมีต่อกัน
เช่น ให้ EDTA เพื่อ chelate=จับ(มีขาที่มีประจุจับกับโลหะหนัก)
Pharmacokinetic antagonism
ยาหรือสารเคมี มีผลเปลี่ยนแปลงปริมาณยา โดยการชักนำหรือการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
สารชักนำเอนไซม์ (Enzyme inducers)
จะทำให้เอนไซม์ทำงานได้มากขึ้น
สารยับยั้งเอนไซม์ (Enzyme inhibitors)
จะทำให้ยาที่กินมีปริมาณยาสูงขึ้น
Pharmacokinetic drug interactions
CYP and UGT ทำลายยามากกว่า90%
CYP ที่ใช้ทำลายยามากที่สุด พบมากที่สุดในตับ คือ 3A4
ส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ตับ
ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาระหว่างยาด้านลบ
เกิดอาการไม่พึงประสงค์/พิษจากยาหรือการรักษา/มี
ประสิทธิภาพลดลง
ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาระหว่างยาด้านบวก
เกิดการเสริมฤทธิ์การรักษาให้ดีขึ้น
กลไกการเกิดDrug interaction
กลไกทางเภสัชพลศาสตร์ Pharmacodynamic drug interactions
ส่งผลเสริมฤทธิ์หรือลดฤทธิ์ซึ่งกันและกัน
กลไกทางเภสัชจลนศาสตร์Pharmacokinetic drug interactions
ระดับยาในเลือดเปลี่ยนส่งผลต่อการออกฤทธิ์
การผสมรวมกันไม่ได้ของยา (Drug incompatibility)
ความเข้ากันไม่ได้(incompatibility) เกิดขึ้นเมื่อนำสารมาผสมกัน ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป
2.ความเข้ากันไม่ได้ทางเคมี Chemical incompatibility
เกิดเมื่อผสมสารกันจนเกิดปฏิกิริยาทางเคมีทำให้มีการเปลี่ยนสภาพหรือสลายตัวยาสำคัญ ทำให้การรักษาไม่ได้ผลหรือได้ผลน้อยลง
ex. Hydrolysis, complexation, reduction/oxidation
3.ความเข้ากันไม่ได้ทางการรักษา Therapeutic incompatibility
ความเข้ากันไม่ได้ทางการรักษา เกิดเมื่อผสมสารกันแล้วทำให้เกิดฤทธิ์ต้านหรือเสริมกัน
การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา (Drug interaction)
ความเข้ากันไม่ได้ทางกายภาพ Physical incompatibility
ได้แก่ มีตะกอน ผลึก สีฟอง แก๊ส
ex. ฉีด diazepam ทางน้ำเกลือก็จะตกตะกอน
ความคงตัว
1.Physical stability ความคงตัวตามคุณสมบัติเดิมทางการภาพของยา
การไม่เปลี่ยนสี การไม่เกิดตะกอนหรือจากสารละลายยาที่เคยใสไม่เปลี่ยนเป็นสีขุ่น
2.Chemical stability ความคงตัวทางเคมี
ยาจะมีความคงตัวทางเคมีเมื่อมีตัวยาสำคัญหรือความแรงอย่างน้อย 90% หรือการเสื่อมสลายของตัวยาสำคัญน้อยกว่า 10%
3.Microbiological stability ความคงตัวทางจุลชีววิทยา
การคงความปลอดเชื้อ (sterility) หรือมีจำนวนแบคทีเรียไม่เกินระดับที่กำหนด
4.Therapeutic stability ความคงตัวของประสิทธิภาพการรักษา
เป็นการผสมยาเข้าด้วยกันแล้วทำให้ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาไม่เปลี่ยนแปลง (ไม่ต้านกันหรือเสริมกัน)
5.Toxicology stability ความคงตัวทางพิษวิทยา
ไม่มีการเพิ่มขึ้นของพิษจากยา หรือไม่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ เช่น
เกิดไข้ หนาวสั่น chill, เกิด phlebitis เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัวและ
ความเข้ากันได้ของยา Drug incompatibility & stability
ความเข้มข้นของยาหลังผสม
ยาที่มีความเข้มข้นสูงมักมีความคงตัวต่ำกว่ายาที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า หรือยาที่มีความสามารถในการละลายต่ำเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของยาจะทำให้ยาตกตะกอน
Ceftriaxone ละลายด้วย SWI (100 mg/mL) เก็บอุณหภูมิห้องได้ 2 วัน ในตู้เย็น 10 วัน
Ceftriaxone ละลายด้วย SWI (250 mg/mL) เก็บอุณหภูมิห้องได้ 24 ชั่วโมง ในตู้เย็น 3 วัน
สภาวะในการเก็บยา
อุณหภูมิในการเก็บยามีผลต่อการละลายยาและความคงตัวหากอุณหภูมิที่หอผู้ป่วยที่บางแห่งไม่ติดเครื่องปรับอากาศในช่วงฤดูร้อน อาจส่งผลต่ออายุยาที่สั้นลงได้
สภาพความเป็นกรดด่าง
โดยความคงตัวของสารละลายยาหลังผสม
เปลี่ยนแปลงตามความเป็นกรดด่างของสารน้ำ
D5W (pH 3.5-6.5), NSS (pH 4.5-7.0), D5N (pH 3.6-6.5), SWI (pH 5.5)
วิธีการให้ยา
1.ผสมยาก่อนค่อยฉีด
Y-site = การให้ยา 2 ชนิดหรือมากกว่า ที่เจือจางแยกจากกันแต่ให้ผ่านชุดน้ำเกลือเดียวกัน
Additive = ให้ยา 2 ชนิดแล้วผสมกันในถุงน้ำเกลือเดียวกัน
ชนิดของสารน้ำที่ใช้
Amphotericin B (ยาฆ่าเชื้อรา) จะตกตะกอนใน normal saline solution (NSS) แต่
ผสมใน dextrose 5% in water (D5W) ได้
สารน้ำที่ไม่แนะนำให้ใช้ผสมยาได้แก่ blood plasma, protein hydrolysate,
amino acid solution, sodium bicarbonate, fat emulsion
คุณสมบัติของยา
Nitroglycerin ให้ผสมยาในภาชนะที่เป็นแก้วเท่านั้น
แสง
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี ทำให้ยาสลายตัวได้เร็วขึ้น
ex. วิตามินบีจะใส่ซองป้องกันด้วยซองสีชา หรือภาชนะสีทึบ