Coggle requires JavaScript to display documents.
- จาก 10 ml. เป็น 5 L. - เพิ่มจำนวนของหลอดเลือด กล้ามเนื้อขยายตัว
- เพิ่มฮอร์โมน estrogen และ progesterone - ช่วยให้ผนังมดลูกแข็งแรง และการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
- เมื่อครรภ์ใกล้ครบกําหนด ปริมาตรในเลือดเพิ่มขึ้น ≈ 45% ใช้ขนส่งอาหารจากแม่สู่ทารกผ่านรก - มีการเพิ่มของ plasma มากกวา่ RBC ทําให ้ค.เข้มข้นเลือดจางลง ค่าHeamoglobin และ Hematocrit น้อย
- เกิดอาการแน่น ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียนได้ง่าย มีการย้อนกลับของน้ำย่อยเข้าสู่หลอดอาหารทำให้มีอาการแสบยอดอก(Heartburn)
- อาการแพ้ท้อง(morning sickness) ทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ควรหลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด อาหารมัน จะทำให้อาการคลื่นไส้อาเจียนเพิ่มกว่านี้
- ระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ นน.เพิ่มน้อยมากเพียง 1-2 กก. - หลังจาก 3 เดือน นน. จะค่อยๆ เพิ่มขึ้น - เพิ่มเร็วสุดในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด อาจเพิ่มขึ้น 0.5 กก./สัปดาห์
- นน.ตัวก่อนการตั้งครรภ์เกินร้อยละ 120 ของนน.ตัวมาตรฐาน - ควรมีนน.ตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7-8 kg. ้ - มี นน.ไม่เกิน 300 กรัมต่อสัปดาห์
- ก่อนตั้งครรภ์อยู่ระหว่างร้อยละ 110-119 ของนน.ตัวมาตรฐาน - หญิงตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ (90-109 ของ นน.ตัวมาตรฐาน) - วางแผนว่าจะไม่ให้นมบุตรหลังคลอด ควรมี นน.ตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 10 kg. เพิ่ม 360 g/week
- ควรมี นน.ตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12 kg./ ≈ 400 g/week ในระยะไตรมาสที่ 2 และ 3
- ควรมี นน. เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 14-15 kg./ในอัตรา 500 g/week
- ควรมีนน.ตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 18 kg. โดยมีนน.เพิ่มขึ้นอาทิตย์ละ 650 g ในระยะ 20 อาทิตย์ก่อนคลอด