Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือดและไต, นางสาวอัญมณี พวงนาค A6380060 -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจ หลอดเลือดและไต
ยาต้านการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด (Antiplatelet drug)
ข้อห้ามใช้
หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
active bleeding
GI bleeding
platelet ต่ำ
leukopenia
นำมาใช้เพื่อลดอัตราการเกิด stroke กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ลดออัตราการตายจาก stroke และกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
อาการไม่พึงประสงค์
ระตายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
ทำให้เกิดภาวะ agranulocutosis
ขนาดของยาที่ใช้
• Clopidogrel ขนาด 75 Mg
•Ticlopidine รับประทานครั้งละ 250 Mg วันละครั้ง
Clopidogrel และ ticlopidine ยามีผลยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือดผ่านทาง PDP pathway
เกิดจาก thromboxane และ ADP จับกับ receptor ที่ผิวของเกล็ดเลือด ทำให้มีการสร้างสารสื่อต่างๆและทำให้เกร็ดเลือจับกลุ่มกันมากขึ้นเมื่อให้ยาไปทำ ห้เกร็ดเลือดไม่สามารถจับกลุ่มกันได้ ฤทธิ์ของยาจะเกิดขึ้นเต็มที่หลังจากได้รับยาไปแล้ว 3-5 และฤทธิ์ยังคงอยู่หลังหยุดยาแล้ว 10 วัน
Aspirin (ASA)
นอกจากใช้เป็นยาแก้ปวดลดไข้แล้ว ยังมีฤทธิ์ในการต้านการจับกลุ่มกันของเกล็ดเลือด โดยไปมีผลยับยั้งการทำงานของ cyclooxygenase ในเกล็ดเลือดอย่างถาวร ทำให้ arachidonic acid ไม่สามารถเปลี่ยน thromboxane A2 ได้ทำให้เกร็ดเลือดมารวมตัวกันไม่ได้ ฤทธิ์ของยาจะเกิดขึ้นทันทีและอยู่ตลอดอายุของเกร็ดเลือดนั้น 10 วัน
อาการข้างเคียง
ที่พบบ่อยมีอาการระคายเคืองกระเพาะอาหารทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย และหยุดยาก
ช่วยป้องกันการเกิดก้อนเลือดอุดตัน และใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีลิ่มเลือดอุดตัน
เช่น ผู้ป่วย MI โดยยาที่ใช้ได้แก่ ASA , Clopidogrel , Ticlopidine
ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytic drugs)
PLASMINOGEN ACTIVATOR
• streptokinase (STK)
• urokinase
• alteplase (t-PA)
• ANISTREPLASE ( STK - PLASMINOGEN)
ข้อบ่งใช้ : Coronary or pulmonary emboli ลด emboli ป้องกัน AMI (ใช้ร่วมกับ SAS)
ผลข้างเคียง : Bleeding >> brain , lung , wound
สรุป : Anticoagulants และ thrombolytic drugs ใช้กับโรค DVT embolism ของปอด, หลอดเลือดแดง
STEPTOKINASE
• เป็นโปรตีน เบต้า-hemolytic stepococci ไม่มีฤทธิ์เป็นเอนไซม์ Streptokinase จับกับ plasminogen ได้เป็นสารประกอบและเปลี่ยน plasminogen ได้แก่ plasmin
• ค่าครึ่งชีวิตของ streptokinase ประมาณ 80 นาที
อาการที่ไม่พึงประสงค์
• เลือดออก
• เกิดการแพ้และมีไข้ได้
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulant)
กลไกการแข็งตัวของเลือดประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 มีการสร้าง thromboplastin
ขั้นที่ 2 thromboplastin ทำหน้าที่เป็น proteoolytic enzyme มาย่อย prothrombin ให้กลายเป็น thrombin
ขั้นที่ 3 thrombin ทำหน้าที่เป็น proteolytic enzyme
Heparin
•ยับยั้งการแข็งตัวของเลือดทั้งภายในและภายนอกร่างกายทันที
• จับกับ antithrombin และยับยั้ง clotting factor
• เร่งอันตรายการทำลายthrombin
• ต้องบริหารโดยการฉีดเข้าสู่ร่างกายนิยมฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำและฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ห้ามฉีดเข้ากล้ามเนื้อเนื่องจากการดูดซึมไม่แน่นอนและอาจเกิดเลือดออกเฉพาะที่
• ไม่ผ่านรกและไม่ออกจากน้ำนมดังนั้นหญิงตั้งครรภ์ที่มีความจำเป็นต้องรับ Anticoagulant อาจให้ heparin ได้ หน่วยของยาเป็น Unit
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มฤทธิ์ของ antithrombin III ในการยับยั้งการทำงานของ thrombin และ factor Xa,IXa,XIIa และ Kallikrein (Intrinsic pathway) โดยทำหน้าที่เป็น catalcit template เร่งให้ Therapeutic or factor + antithrombin lll สารประกอบ Theapeutic dose ในพลาสมา =0.1-1.0 หน่วย/ ml
รูปแบบยา 25,000u/vial (5,000 u/ml. )
การแก้ไขอาการพิษของ Heparin
อาการเลือดออกที่ไม่รุนแรงจากการใช้ Heparin แก้ไขโดยไม่ต้องใช้ยาต้านการออกฤทธิ์ของ Heparin ถ้าเลือดออกรุนแรงอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้
ยาต้านคือ protamine sulfate ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีโมเลกุลต่ำ เป็นเบส โดยออกฤทธิ์คือไปจับกับ Heparin ซึ่งมีฤทธิ์เป็นกฏทำให้สูญเสียฤทธิ์การต้านการแข็งตัวของเลือด
ข้อห้ามใช้ยา
• Heparin ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพพ้ยานี้
• ผู้ป่วยที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำขั่นรุนแรง
• ผู้ป่วยมีเลือดออกโดยที่ไม่สามารถควบคุมได้
ประโยชน์
Heparin ในขนาดต่ำใช้ในการป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดในสภาวะที่มีอัตราเสี่ยงสูง โดยนิยมฉีดเข้าใต้ผิวหนังบริเวณท้องในขนาด 5,000 หน่วย
การปรับขนาดของ Heparin
• จะปรับขนาดของยาตาม partal thromboplastin time (PTT) โดยจะใช้ activated partial thromboplastin time (aPTT)เป็นตัวควบคุมการปรับขนาดของยาโดยให้aPTTเป็นช่อง1.8-2.5เท่ากับคนปกติ
ยาต้านการแข็งตัวขงเลือด ชนิดรับประทาน (Oral anticoagulant)
• เป็นยารับประทานเพื่อยังยั้งการแข็งตัวของเลือด ยาในกลุ่มนี้มีสูตรโครงสร้างคล้าย Vit.K โดยจะมีผลต่างจากHeparin ตัวที่ไม่มีผลในการแข็งตัวของเลือดภายนอกร่างกาย ยาที่นิยมใช้ได้แก่ warfarin , coumadin
• การใช้ warfarin ในระหว่างไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เป็นสาเหตุของความผิดปกติในทารกและการแท้งบุตร
• การใช้ยาในระหว่างไตรมาสที่สองและสุดท้าย ทำให้เกิดความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางได้ ยานี้จึงไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์
ห้ามใช้ในหยิงตั้งครรภ์ > abortion malformation
• ควรหยุดยาก่อน OR 10 วัน
• มีภาวะGl bleeding ในระยะ3เดือนก่อนได้ยา
• มีโรค HY , CVA
• มีภาวะเลือดออกผิดปกติ
ยาที่มีผลต่อระบบการแข็งตัวของเลือด
• anticoagulant ยาในกลุ่มนี้จะยับยั้งการแข็งตัวของเลือดและยับยั้งไม่ให้ clot ขยายตัวใหญ่ขึ้น
• ยาที่กระตุ้นให้เกิดการละลายของ thrombus ได้แก ยาในกลุ่มthrombolytytic drugs ยาจะช่วยละลาย clot ที่เกิดขึ้น
• 3.anti platelet drug คือ ยาที่ยับยั้งการจับกลุ่มกันของเกร็ดเลือด ได้แก่ ASA , clipidogrel , Ticlopidine
การพิจารณาเลือกยาลดความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วมแนะนําให้เริ่มจากยา2ชนิด ร่วมกัน คือ
ยากลุ่มRenin-Angiotensin system blockers Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) Angiotensin receptor blockers (ARBs)ร่ว มกับยาขับปัสสาวะหรือยากลุ่ม calcium-channel blockers (CCBs) ยกเว้น ในผู้สูงอายุที่ความดันโลหิต ไม่ได้สูงมากอาจพิจารณาเริ่มยาเพียงชนิดเดียวก่อนได้
หากไม่สามารถควบคุมดันโลหิตได้ตามเป้าหมายด้วยยา 2 ชนิด แนะนำให้เพิ่มชนิดที่ 3 โดยให้มียาขับปุสสาวะกลุ่ม Thizides ร่วมด้วย
หากยังไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยา 3ชนิด แนะนําให้พิจารณาเพิ่มยากลุ่ม Beta-blockers, Spironolactone หรือAlpha-blockers ทีละชนิดจนสามารถควบคุมความดันโลหิต ได้ตามเป้าหมาย
❌แต่ไม่แนะนําให้ใช้ยากลุ่มACEIs ร่วมกับยากลุ่ม ARBs
ยาขับปัสสาวะ แบ่งออกเป็น 5กลุ่ม
5.1 loop diuretics
ยาขับปัสสาวะกลุ่ม loop diuretics ex. Furosemide , Bumetanide
กลไกการออกฤทธิ์
• ยับยั้งการดูดซึมกลับของ Na Cl ที่ท่อไต บริเวณ thick ascendind limb ของ henle's loop
• ลดการซึมกลับที่บริเวณ proximal tubule
• เพิ่มการขับpotassiumions,magnesiuions,calciumionsและsodiumions
• อัตราการไหลเวียนเลือดที่ไต
อาการข้างเคียง
• ผื่นคัน ความดันโลหิตต่ำ
• ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
• ระดับ potassium ในเลือดต่ำ ก่อให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้
• ระดับ magnesium ในเลือดต่ำ
• ระดับกรดยูรกิในเลือดสูง ( hyperuricemia )
• เกิดความเป็นพิษต่อหูได้ถ้าใช้ในขนาดสูง
•
ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรงได้ (severe dehydration)
• เนื้อเยื่อไตอักเสบ (interstitial nephritis)
5.2 Thaizide Diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
• ช่วยกระตุ้นไตให้ตอบสนองต่อ hormone ได้ดีขึ้น
• ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ระดับเล็กน้อย-ปานกลาง (Mild-moderate)
• ใช้รักษาผู้ป่วยโรคล้มเหลวที่มีอาการบวมจากไตทํางานผิดปกติ ใช้ในผู้ป่วยเบาจืดจากการไม่ตอบสนองต่อ antidiuretic hormone
อาการข้างเคียง
• เกิดร่างกายอยู่ในภาวะเป็นด่าง
• hyponatremia
• hyperglycemia
• hyperurecemi
• ระดับ Kในเลือดต่ำทําให้หัวใจเต้นผิดจังหวะและอาจเสียชีวิตได้ :
5.3 Plassium-sparing Diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของ alosterone โดยปิดกั้นที่ aldosterone receptor
• ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium ions ที่บริเวณ collecting duct แลกกับ potassium ions มีการเก็บpotassium ions เข้าสู่ร่างกาย
อาการข้างเคียง
• ตะคริวที่ขา
• เต้านมโตในผู้ชาย
• คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียนปวดศีรษะ
• ภาวะร่างกายเป็นกรดจากระดับ chloride ในเลือดสูง
• ภาวะไตวายเฉียบพลัน
5.4 Osmotic Diuretics
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และน้ำทีบริเวณproximal tubule, descending limb of the loop of henle และ collecting tubule ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน้ำจากเนื้อเยื่อ ต่างๆในร่างกายเข้ามาในกระแสเลือด ทําให้มีปริมาณน้ำและเกลือแร่ผ่านเข้าไตมากขึ้น ขับน้ำและelectrolyte ออกทางปัสสาวะได้มากขึ้น
อาการข้างเคียง
• ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
• การใช้ยาในขนาดสูงอาจเกิดภาวะขาดน้ำ
5.5 Carbonic Anhydrase inhibitor
กลไกการออกฤทธิ์
• ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Carbonic anhydrase พบมากในบริเวณ proximal tubule
ส่งผลยับยั้งการดูดซึมกลับของ NaHCO3 ทําให้เพิ่มการขับปัสสาวะ
อาการข้างเคียง
• ปวดศีรษะ
• ร้อนวูบวาบ
• anorexia] เบื่ออาหาร
• [hepatic necrosis] เนื้อตับตาย
Alpha-blockers
ออกฤทธิ์ขยายในหลอดเลือด
อาการข้างเคียง
ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่าทาง
ปวดศีรษะและอ่อนเพลีย
ไม่มีผลข้างเคียงทาง metabolic และระดับไขมัน
ปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมใช้ในการควบคุมความดันโลหิตแต่ใช้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติปกติของไขมันหคือ ใช้รักษาผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต
ยาลดความดันโลหิตสูง มีอยู่5กลุ่มหลัก
Diuretics ยาขับปัสสาวะ
เป็นยาที่ได้รับความนิยมในการรักษาความดันโลหิตสูงที่ไม่รุนแรง
-เป็นยาที่ใช้ร่วมกับยากลุ่มอื่นเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในเลือดสูง ลดอาการบวมจากสาเหตุต่างๆ การรักษาโรคความดันโลหติสูงงรักษาPilmonary edema
กลไกการออกฤทธิ์
ควบคุมความดันโลหิตได้ดีที่ขนาดยาต่ำๆ
การเพิ่มขนาดยาให้สูงขึ้นไม่ทําให้ผลการรักษาดีขึ้นแต่จะเพิ่มอาการไม่พึงประสงค์
Calcium channel blockers
ออกฤทธิ์เป็นยาขนายหลอดเลือด ทำให้สามารถลดความดันโลหิตได้
ยาในกลุ่มนี้แต่ละตัวอาจมีผลต่อการทํางานของหัวใจต่างกัน ex. infedine , amlodipine , felodipine จะเพิ่มอัตราเต้นของหัวใจ ส่วน veraoamill , diltiazem ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ผลข้างเคียง
ที่พบบ่อย ของยาในกลุ่มนี้ คือ เท้าบวม ปวดศีรษะ หน้าแดง
nifedipine เก็นยาที่ได้รับความนิยมและมีผลข้างเคียงไม่มากนัก
ส่วน verapamill , diltiazem อาจทําให้เกิดอาการท้องผูก และเกิดheart blockได้ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
Beta-blockkers
ใช้รักษาความดันโลหิตสูงทุกระดับความรุนแรง นิยมใช้ในระดับความดันที่ค่อนข้างสูง
สามารถใช้ได้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มี angina , post - myocardial infarction , tachyarrthymia
ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มี nephropathy
มีฤทธิกดการทํางานของหัวใจ #ห้ามใช้ผู้ที่มี second หรอื third degree heart block
กลไกการออกฤทธิ์ลดความดันโลหิตผ่านหลายกลไก
ลดการหลั่งสาร Norepinphrine และ Renin
ยับยั้งที่จําเพาะเจาะลงต่อ Beta-1 receptor ที่หัวใจเต้นช้าลง มีผลลดCardiac output
ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Beta-2 receptor ส่งผลให้มี Vasomotor tone ลดลง
ขยายหลอดเลือดผ่านการยับยั้ง Alpha-1 receptor
ขยายหลอดเลือดผ่านการกระตุ้นการหลั่งสาร Nitic oxide
ห้ามใช้กับผู้ป่วยประเภท
ผู้ป่วยที่มีsevere or active airway diseases
ผู้ที่มีภาวะ acute decompensated heart failure
ผู้ที่มีภาวะ second- or third-degree atrioventricular block หรือมี sick sinus syndrome
ผู้ป่วยโรคหอบหดื อาจทําให้เกิดอาการมือเท้าเย็นอนไม่หลับ ฝันร้าย เหน็ดเหนื่อย อ่อนล้า บางรายอาจเสื่อมสมรรถภาพทางเพศได้
ข้อควรระวัง
มีผลทําให้เกิดglucose tolerance และไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยเบาหวาน หรือผู้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสูง
ARBs (ห้ามใช้ร่วมกับ ACEIs)
ใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง , Heart Failure , Post-MI
ใช้กลุ่มACEIsไม่ใช้ผลเนื้องจากกลุ่ม ACEIs มีผลข้างเคียงทำให้และกิดอาการไอแห้ง( 2 0 % ข อ ง P T ) สาเหตุจากการสะสมของbradykininทำให้ ผู้ป่วยไม่สามารถทนต่ออาการไอได้ดี
กลไกหารออกฤทธิ์ ยับยั้ง angiotensin II ที่ Receptor AT1
ทําให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
หลอดเลือดขยายตัว
เพิ่มการขับ Sodium และน้ำ
ผลข้างเคียง
ทําใหเ้เกิดตวามดันโลหิตำ่ได้หากใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะเกิดภาวะHyperkalemia
ACEIs และ All antagonists
ACEIs ได้แก่ Enalapill , Captoprill
ยาในกลุ่มนี้ได้รับความนิยมมากกว่าหนึ่ง เพราะมีสิทธิภาพที่ดีในการลดความดัน
มีผลในการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจโต มีผลต่อไตและหลอดเลือดที่ไต
สามารถใชในผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง และมีภาวะโรคไตร่วมด้วย
มีอาการไอแห้งๆหลังรับยา
All antagonists ได้แก่ Losartan , Valsartan ให้ผลในการรักษาและอาการข้างเคียงจะคล้ายคลึงกับการใช้ ACEIsแต่ไม่เกิดอาการไอเหมือนกับACEIs
การรับรสเปลี่ยนไป
ระดับโปตัสเซียมสูง
ความดันโลหติ เมื่อใช้ยาเป็นครั้งแรก ต้องระวังผู้ที่ได้รับยาขับปัสสาวะปริมาณณสูงหรือผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดที่ไตตีบเพราะจะทําให้เกิดไตวายเฉียบพลันได้
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์เพราะมีความเสี่ยงทําให้ทารกเกิดความผิดปกติ และมีความดันโลหิตลดลง
การรักษาโรคความดันโลหิตสูง
• สาเหตุการเกิด 10%ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถหาสาเหตุและรักษาที่สาเหตุ [Secondary hypertension]
1.เกิดจากความผิดปกติของต่อมใต้สมอง ต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ เส้นเลือดที่ไตหรือ ความไม่สมดุลของฮอร์โมนบางชนิดในร่างกาย ex. Aldosterone , Cortisol , Thyroid hormone เป็นต้น
2.อาจเกิดจากความผิดปกติของการนอนหลับ (Obstructive sleep apnea)
3.อาจเกิดจากการได้รับยาบางชนิด : decongestants , Immunosuppressant , Angiogenesis inhibitors, Tyrosine kinase inhibitors สมุนไพรบางชนิด🪴
สาเหตุการเกิด 90%เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ทราบสาเหตุ [Primary hypertension] พิจารณาเลือกการรักษา
• ตามความรุนแรงของโรค
• ชนิดของโรคร่วม
• ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและลักษณะของผู้ป่วย
การรักษาความดันโลหิตสูง
• ประกอบด้วย2มาตรฐานหลัก คือ 1. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต 2. การใช้ยาลดความดันโลหิต
💊
ยาที่ใช้ในการรักษาความผิดปกติของหัวใจ
ยาที่ใช้รักษาภาวะ angina pectoris
ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลม
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
💊
ยาที่ใช้รักษาภาวะ angina pectoris (ปวดเค้นหน้าอก , เจ็บเค้น)
💊
5. ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ (Positive innotropics)
5.1 ยากลุ่ม Cardiac glycoside
สารสกัดจากใบของ Foxglove หรือ Digitalis purpurea Digitalis เป็นตัวยาในกลุ่ม cardiac glycoside ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+ , K+,ATPase มีผลให้Sodium ions ในเซลล์มากขึ้น
ส่งผลลดการทํางาน Na+/Ca2+ exchanger
ลดการขับcalcium ions ออกทําให้calcium ions อยู่ใ นเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมากขึ้นและcalcium ions ที่เข้ามาในเซลล์มีผลกระตุ้นการหลั่งของ calcium ions จาก sarcoplasmic reticulum ในเซลล์ออกมา
-มีผลเพิ่มความแรง ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การรักษา
เมื่อผู้ป่วยมีการตอบสนองต่อยา จึงลดระดับยาลง
อาการข้างเคียง
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
พบการระคายเคืองทางเดินอาหาร
การมองเห็นผิดปกติ
5.2 ยาออกฤทธิ์กระตุ้นอะดรีเนอจิกกรีเซฟเตอร์ (adrenergic agonists)
กลไกการออกฤทธิ์
Dobutamine : ออกฤทธิ์กระตุ้น receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ
Dopamine : การใช้ใน low dose ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ Dopaminergic raceptor บนกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
อาการข้างเคียง
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น
ทําให้เกิดอาการเจ็บอกหรือการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ ต่อผู้ป่วยที่ภาวะหัวใจขาดเลือด
5.3 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรส (Phophodiesterase inhibitor)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Phophodiesterase ในหลอดเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดง เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆได้ดีขึ้น
ลดVascularresistance>>เพิ่ม cardiacoutput
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ , เจ็บหน้าอก
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
2. ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของระบบเรนินแองจิโอเทนซิน
ACEIs : Captopril , Enalapril
ARVs : Losaran , Valsartan
การนำไปใช้ทางคลินิก
• ยากลุ่ม ACEIs Inhibitor
นิยมใช้เพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค เพิ่มคุณภาพชีวิต และอตั ราการรอดชีวิต ของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
• ยากลุ่มARBs
ใช้ในกรณีผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงจากการใช้ยาในกลุ่ม ACEIs
3. กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodiolator)
ลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ลด preload , afterload
การนำไปใช้ทางคลินิก
• ยาHydralazine และ Isosorbine dinitrate
• นิยมใช้ในกรณีไม่สามารถใช้ยากลุ่ม ACEIsได้
• ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้ (ยาGlyceryl trinitrate)
• ใชใ้ นกรณีเกิดอาการหวั ใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน และมีอาการปอดบวมน้ำร่วมด้วย เพื่อช่วยลดความดันในช่อ งปอด
1. ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
รักษาภาวะล้มเหลวเพื่อลดภาวะบวมน้ำ ปริมาตรเลือดกลับสู่ปกติ ช่วยลดpreload ได้โดยไม่มีผลต่อ cardiac output
การนำไปใช้คลินิก
loop diuretics
ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังระดับรุนแรง
• ภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน
. ใชใ้ นผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องได้ กลุ่มไธอะไซด์ ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวระดับปานกลาง ที่การทำงานของไตปกติ
**4. กลุ่ม blockers ได้แก่ยา Carvediolol , Metropolol , Bisopolol
กลไกการออกฤทธิ์**
ยาทําให้หัวใจเต้นช้าลงนิยมใช้ร่ว มกับยาในกลุ่ม ACEIs หรือ ARBs และ Diuretic
จากการศึกษาพบว่าการเริ่มใช้ยากลุ่มนี้ในขนาดต่างๆ และค่อยๆเพิ่ม ขนาด ในระยะยาวมีผลทําใหัการทําหน้าที่ของหัวใจห้อง ventricle ดีขึ้น
ลดความรุนแรงของโรค
ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้
1. Angina pectoris
เป็นอาการเจ็บหน้าอกซึ่งเกิดจากความไม่สมดุลชั่วคราว
ยากลุ่มไนเตรท
glyceryl trinitrate
Isosorbide dinitrate
กลไกการออกฤทธิ์
ลดความต้องการออกซิเจนของร่างการ
• หลอดเลือดแดงหัวใจคลายตัว
• ความดันโลหิตลดลง ลดการทำงานของหัวใจ
ออกฤทธิ์ต่อเลือดดำมากกว่าเลือดแดง
• แรงในการบีบของหัวใจลดลง
การบริหารยา Isosorbide dinitrate
ชนิดอมใต้ลิ้น( sublingual) 0.3 - 0.6 mg อมเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกห่างกัน 5 นาที
• ชนิดอมใต้ลิ้น (sublingual : SL ) 5 mg เริ่มอม 5 mg ถ้ายังไม่หายอมใน 5 นาที ให้อมเม็ดที่2ได้อีก ถ้ายังไม่หายอมเม็ดที่ 3 เพิ่ม แล้วรีบไปโรงพยาบาล
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นเร็ว
เป็นลม หน้าแดง ปวดศีรษะ
• ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่นท่า
• การใช้ยาเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดการดื้อยา
2. ยาต้านแคลเซียม
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ลดการทำงานของหัวใจได้ดี
ขยายหลอดเลือดได้ดี มีผลต่อการทำงานของหัวใจน้อย
• ลดอัตราการเต้นของหัวใจ Nifedipine
3. ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเบต้าอะดรีเนอร์จิกรีเซฟเตอร์ (beta-blockers)
กลไกการออกฤทธิ์
ลดความดันโลหิต
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
• ลดความอรงในการบีบตัวของหัวใจ ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการออกซิเจนลดลง
• นิยมใช้ป้องกันการเกิดอาการเจ็บอก
การพยาบาลผู้ที่ได้รักการรักษาบรรเทาอาการ angina pectris
แนะนำให้เก็บรักษาอย่างถูกต้อง
💊
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (drug used for cardiac arrhythmai)
Class I sodium channel-blckers
Class I subgroup 1A : quinidine , procainamide ,
disopyramide ใช้รักษาภาวะ ventricular arrhythmia ผลข้างเคียง ท้องเสีย เบื่ออาหาร ขมในปาก วิงเวียน ปวดศรีษะ
Class I subgroup 1B : lidocaine , tocainide , mexiletine
ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผลข้างเคียงความดันโลหิตลดลงใจสั่นคลื่นการได้ยินผิดปกติพูดช้า ชัก
Class I subgroup 1C : flecainide ,
propafenone
Class II blckers: propronal ,Esmolol
Class III potassium channel blockers
Class IV กลุ่มยาต้านแคลเซียม
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้หัวใจเต้นช้าลง
ลดอัตราการทำงานของ ventricular
อาการข้างเคียง
ความดันโลหิตลดลง
อาการบวมของอวัยวะส่วยปลาย
การพยาบาลผู้ที่ได้รับการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ควบคุมน้ำหนัก
งดสูบบุหรี่ งดดื่มสุรา
นางสาวอัญมณี พวงนาค A6380060