Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
โภชนาการสำหรับ
หญิงตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงในภาวะปกติธรรมชาติ
ไม่ใช่การเจ็บป่วย
มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
สร้างเนื้อเยื่อต่างๆเพิ่มมากขึ้น
ต้องการสารอาหาร
มากขึ้น
มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
น้ำหนักแรกคลอดทารก
( น้อยกว่า 2,000 กรัม )
เซลล์สมองจะหยุดแบ่วตัว
หลังอายุ 12-18 เดือน
ถ้าขาดอาหารสมอง
ช้ากว่าปกติ
สมองมีขนาดเล็กกว่าปกติ
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรของหญิงตั้งครรภ์
มดลูกเพิ่มความจุ
10 มล. เป็น 5 ลิตร
น้ำหนักจาก 70 กรัม
เป็นประมาณ 1,100 กรัม
กล้ามเนื้อขยายตัว
การเปลี่ยนแปลง
ฮอร์โมน
มีการเพิ่มฮอร์โมน
estrogen
progesterone
ฮอร์โมนอื่นที่สร้างมาจากรก
ผนังมดลูกเเข็งเเรงขึ้น
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของ
การไหลเวียนเลือด
ปริมาณเลือดเพิ่มร้อยละ45
ขนส่งอาหารจากแม่ไปสู่ลูกโดยผ่านรก
plasma มากกว่าเม็ดเลือดแดง
ความเข้มข้นของเม็ดเลือดจางลง
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง
น้ำย่อยหลั่งน้อยลง
มีอาการแสบยอดอก
( heartburn )
ออกกำลังกายไม่
เพียงพอ
อาการคลื่นไส้อาเจียน
อาการแพ้ท้อง
( morning cickness )
มีอาการเบื่ออาหาร
มักเป็นตอนเช้า
อยากกินอาหารแปลกๆ
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
3 เดือนเเรกน้ำหนักเพิ่มน้อยมาก
1-2 กก.
น้ำหนักเพิ่มเร็วสุด 3 เดือน
ก่อนคลอด
ควรมีน้ำหนักเพิ่มประมาณ
12.5 กก.
น้ำหนักไม่ควรน้อยกว่า 7 กก.
หรือ 13 กก.
น้ำหนักแม่
น้อยกว่า 7 กก.
ทากรกน้ำหนักน้อย
ทำให้เสียชีวิตได้
ถ้าทารกรอด
ไม่เเข็งเเรง
ความพิการแต่กำเนิด
เกณฑ์การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวที่เหมาะสม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคอ้วน
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์เกินร้อยละ 120 ของน้ำหนักตัวมาตรฐาน
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
7-8 กก.
น้ำหนักเพิ่มขึ้นไม่เกิน
300 กรัมต่อสัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกิน
น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์อยู่ระหว่างร้อยละ 110-119 ของน้ำหนักตัวมาตรฐาน
เกณฑ์ปกติ 90-109 ของน้ำหนักตัวมาตรฐาน
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 10 กก.
เพิ่ม 360 กรัมต่อสัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีลูกแฝด
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ 18 กก.
เพิ่มขึ้นอาทิตย์ละ 500 กรัม
20 อาทิตย์ก่อนคลอด
น้ำหนักปกติ ในนมบุตรหลังคลอด
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์
12 กก.
400 กรัมต่อสัปดาห์
ไตรมาสที่ 2 และ 3
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
อาหารที่ให้พลังงาน
80,000 กิโลแคลอรี่
300 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
วันละ 2,050 kcal
เสริมสร้างอวัยวะต่างๆ ของทารก
อาหารที่ควรเลี่ยง
ขนมหวานจัด
น้ำอัดลม
อาหารที่มีไขมันมาก
อาหารทอด
หมูติดมัน
โปรตีน
ได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ
มีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองทารก
ช่วง 3 เดือน ก่อนคลอด
6 เดือนหลังคลอด
มีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ของเด็ก
เพิ่มจากภาวะปกติ 10-14 กรัมต่อวัน
นม 2 ถ้วยตวง
เนื้อสัตว์ 60 กรัม
แคลเซียม
สร้างกระดูกและฟันของทารก
ควรได้รับ 1,200 มก.
ได้รับไม่เพียงพอ
ดึงแคลเซียมจากกระดูกแม่ไปใช้
อาหารที่มีแคลเซียมสูง
ปลาเล็กปลาน้อย
กุ้งแห้ง
นมถั่วเหลือง
เต้าหู้
เหล็ก
ใช้สร้างเม็ดเลือดแดง
ได้รับไม่เพียงพอ
โรคโลหิตจาง
โรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
อาหารที่มีเหล็ก
ตับ
ไข่เเดง
เนื้อเเดง
ผักใบเขียวต่างๆ
3 เดือนก่อนคลอด
แพทย์ให้กินยาที่มีธาตุเหล็กร่วมด้วย
ไอโอดีน
ได้รับไม่เพียงพอ
โรคคอพอก
ทารกเกิดมาตัวเล็กแกร็น
ทารกสติปัญญาต่ำ
ควรได้รับวันละ 175 ไมโครกรัม
อาหารที่มีไอโอดีนสูง
อาหารทะเลต่างๆ
ใช้เกลือชนิดที่มีไอโอดีนในการปรุงอาหาร
โฟเลท
จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือด
ควรได้รับ 500 ไมโครกรัม
ปกติได้รับ 150 ไมโครกรัม
อาหารที่มีโฟเลทสูง
ผลไม้และผักใบเขียว
ถั่วต่างๆ
หญิงตั้งครรภ์ที่ควรได้รับโฟเลทเสริมอีก 300 ไมโครกรัม
สูบบุหรี่
ดื่มแอลกอฮอล์
ใช้ยากันชัก
วิตามิน
วิตามิน B6
ควรได้รับเพิ่ม วันละ 0.6 มก.
ปกติ 2.6 มก.
ช่วยในการเผาผลาญ
สังเครากรดอะมิโน
สังเคราะห์ heme
ส่วนประกอบของ Hemoglobin
วิตามิน C
ควรได้รับเพิ่มวันละ 80 มก.
ถ้าขาดวิตามิน C
ครรภ์เป็นพิษ
น้ำเดินก่อนกำหนด
วิตามิน A
ควรได้รับวันละ 800 มคก.RE
หลีกเลี่ยงการได้รับในระยะ 3 เดือนเเรก
ของการตั้งครรภ์
วิตามิน D
ร่างกายต้องการวันละ 10 มก.
ถ้าขาดวิตามินดี
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ถ้าได้รับมากเกินไป
แคลเซียมในเลือดสูง
ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
แอลกอฮอล์
เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์
fetal alcoholic syndrome
การเจริญเติบโตของสมองช้า
ทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
ความผิดปกติ
กระดูก
ใบหน้า
กะโหลกศรีษะ
แขนขา
คาเฟอีน
แหล่งอาหารที่มีคาเฟอีน
ชา
ช็อคโกแลต
กาแฟ
น้ำอัดลม
ดื่มในขนาดปานกลาง
น้อยกว่า 300 มก./วัน
ไม่มีผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ความผิดปกติในการคลอด
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
เนื้อสัตว์ต่างๆ
ปริมาณที่ควรได้รับ
วันละ 120-180 กรัม
1/2-2/4 ถ้วยตวง
มื้อละ 3-4 ช้อนโต๊ะ
หญิงตั้งครรภ์ที่กินมังสวิรัติ
ควรบริโภค
ถั่วเหลือง
เต้าหู้
นม
เป็นแหล่งอาหารที่ให้โปรตีน
ควรดื่มนมไขมันต่ำ 1-2 แก้ว
ดื่มนมถั่วเหลือง
ไข่
ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง
โปรตีนที่มีคุณภาพดี
วิตามินและเกลือเเร่
ควรรับประทานวันละ 1 ฟอง
เป็นประจำ
ผลไม้
ควรกินทุกวัน วันละ 3-4 ครั้ง
เพื่อให้ได้รับวิตามินและ
เกลือเเร่
ผลไม้ที่ควรกิน
มะละกอ
สัปปะรด
กล้วย
ผักชนิดต่างๆ
ควรกินผักใบเขียวทุกวัน
ปริมาณไม่จำกัด
อย่างน้อยวันละ 2-3 ถ้วย
ป้องกันท้องผูก
ถั่วเมล็ดต่างๆ
ควรกินถั่วที่สุก
วันละ 1/2 ถ้วยตวง
ให้โปรตีนสูง
ราคาไม่เเพง
หาซื้อง่าย
เก็บไว้ได้นาน
ไขมันหรือน้ำมัน
เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย
ให้กรดไขมันจำเป็น
ช่วยในการดูดซึมวิตามินที่
ละลายในน้ำมัน
ควรบริโภคในระดับปานกลาง
น้ำ
ควรดื่มน้ำวันละ
1,500-2,000 มล.
6-8 แก้ว