Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Drugs acting on parasympathetic nervous system, ยุ่งเกี่ยวกับreceptor…
Drugs acting on parasympathetic nervous system
Cholinergic Blocking Drugs
(ยาที่ยับยังการทำงานของ PSNS)
กลไกการทำงาน
Muscarinic antagonists จับกับ receptor แทน Ach ทำให้จับกับตัวรับไม่ได้จึงไม่เกิดการส่งกระเเสประสาท
Muscarinic antagonists
Homatropine
ยาสังเคราะห์
Glycopyrrolate
Ipratropium
Propantheline
Atropine
ใช้รักษาในผู้ป่วย(Therapeutic use)
ท้องเเสีย
รูม่านตาหด
แผลในกระเพาะอาหาร
หลอดลมตีบ
ปัสสาวะเล็ด กลั้นไม่ได้
หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ
ผลของการใช้ยา
อัตราการเต้นหัวใจเพิ่มขึ้น
หลอดลมขยายมากขึ้น
ปัสสาวะเล็ดน้อยลง
บรรเทาอาการท้องอืด
รูม่านตาขยาย
ลดการหลั่งเหงื่อ
ข้อห้ามใช้(Contraindication)
ต้อหอนชนิดมุมปิด
ผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต
ผลข้างเคียง(Side Effects)
ตาเบลอ
ท้องผูก
ปากแห้ง ลดการหลั่งน้ำลาย
ปัสสาวะลำบาก
เพ้อ สับสน
Cholinergic Activity Drugs
(ยาที่กระตุ้นการทำงานของ PSNS)
Direct-Acting
Alkaloids
Pilocarpine
Nicotine
Muscarine
Lobeline
Natural alkaloids
Amannita phalloides (เห็ดระโงกหิน)
Areca catechu Linn. (อยู่ในหมาก)
กลไกการทำงาน
มีMuscarinic agonist ที่ทำงานคล้ายกับ Ach เข้าไปจะกับ Muscarinic receptor ทำให้มีการส่งกระเเสประสาทเพิ่มขึ้น หรือ PSNSเพิ่มขึ้น
Esters of choline
Methacholine
Carbachol
Acetylcholine
Bethanechol
Indirect-Acting
กลไกการทำงาน
Cholinesterase Inhibit เข้าไปจับกับตัวทำลายของ Ach จึงเกิดการกระตุ้นกระแสประสาทตลอดเวลา
Reversible(Carbamate)
Physostigmine
Carbaryl
Neostigmine
edrophonium
Irreversible (Organophosphate compounds)
Malathion
Parathion
Echothiphate
Antidote
Atropine
สำหรับ Carbarmate และ Organophosphate
เข้าไปจับกับReceptor แทน ทำให้ไม่เกิดการกระตุ้นPSNS หยุดทำงาน
Pralidoxime (2-PAM)
จับกับกลุ่มยา irreversible ทำให้เอนไซม์ที่ทำลาย Ach กลับมาทำงานได้ปกติ
ใช้รักษาในผู้ป่วย(Therapeutic uses)
ปากแห้ง ไม่มีน้ำลาย
รูม่านตาขยายผิดปกติ
ปัสสาวะคั่งหลังคลอด หลังผ่าตัด หรือไม่ทำงาน
ต้อหิน ระบายความดันในลูกตา
ท้องอืดหลังการผ่าตัด กระเพาะไม่ทำงานไม่มีแรงตึงตัว
อัลไซเมอร์(CNS)
กระเพาะปัสสาวะไม่ทำงาน
ผลของการใช้ยา
หัวใจเต้นช้าลง หลอดเลือดขยาย
กระเพาะปัสสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลั่งของต่อมน้ำลาย
เพิ่มการทำงานของกระเพาะอาหาร
รูม่านตาแคบลง หลอดลมตีบแคบลง
ข้อห้ามใช้(Contrainditcaion)
ผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร (Peptic Ulcer)
ผู้ป่วยหลอดลมตีบ (Bronchial Asthma)
ผู้ป่วยหลอดเลือดหัวใจตีบ (Coronary Insuffiency)
ยุ่งเกี่ยวกับreceptor โดยตรง
เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสารสื่อประสาท
เป็นยารักษา
สารพิษ ยาฆ่าแมลง
ยาต้านพิษ