Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
บทที่ 4
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นเอง (Active immunization)
การให้แอนติเจนเพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้มีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค หรือแอนติเจนชนิดนั้น
วัคซีนพื้นฐานทุกตัวที่อยู่ในตารางแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุขตัังแต่แรกเกิดหรือ
ภายในขวบปีแรก
วัคซีนวัณโรค(BCG)
วัคซีนตับอักเสบบี(HBV)
วัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน(DTP)
วัคซีนโปลิโอ (OPV, IPV)
วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม (MMR)
วัคซีนหัด หัดเยอรมัน (MR)
วัคซีนไข้สมองอักเสบ(LAJE)
วัคซีนมะเร็งปากมดลูก (HPV)
วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
(Haemophilusinfluenza type b Vaccine, Hib)
วัคซีนโรต้า (Rota Vaccine)
นอกจากนี้ยังรวมถึงวัคซีนพิษสุนัขบ้า (RabiesVaccine)
วัคซีนสุกใส (Varicella Zoster Vaccine)
1.1การเกิดภูมิคุ้มกันภายหลังการติดเชื้อตามธรรมชาติ (Active naturally acquiredimmunity)
ร่างกายได้รับเชื้อโรคตามธรรมชาติแล้วสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคชนิดนั้น จนกระทั่งร่างกาย
ฟื้นคืนสภาพ หรือหายป่วยเป็นปกติ
1.2 การเกิดภูมิคุ้มกันโรคภายหลังการให้วัตซีน (Active artificially acquiredimmunity)
การให้วัคซีน หรือ Toxoid เพื่อป้องกันการเกิดโรค
วัคซีนโปลิโอ เพื่อป้องกันการเกิดโรคโปลิโอ
การให้ภูมิคุ้มกันโรคโดยตรงเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค (Passive immunization)
การให้แอนติบอดีเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคชนิดนั้น
เซรุ่ม (Serum) แก้พิษงูอิมมูโนโกลบุลิน
เช่น HBIG (Hepatitis B Immunoglobulin),
TIG (Tetanus immune globulin) หรือ TAT(Tetanus antitoxin), RIG (Rabies Immunoglobulin), DAT(Diphtheria antitoxin)
1.Passive naturally acquired immunity
เกิดจากได้รับภูมิคุ้มกันโดยตรง
โดยที่ร่างกายไม่ได้สร้างเอง
ทารกอยู่ในครรภ์มารดา
ภูมิคุ้มกันบางชนิดจะผ่านรกจากแม่ไปสู่ลูกได้
ภูมิคุ้มกันจะถ่ายทอดผ่านทาง Colostrum
ที่อยู่ในนํ้านมแม่ซึ่งภูมิคุ้มกันเหล่านี้จะมีผลคุ้มครองได้ในระยะแรกๆของชีวิตแล้วหมดไป
2.Passive artificially acquired immunity
เกิดขึ้นจากการได้รับแอนติบอดี
หรือภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป
การฉีด Equine Rabies Immunoglobulin (ERIG) ให้กับผู้ที่ถูกสุนัขบ้ากัด
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันวิธีนี้สามารถป้องกันโรคได้ทันที แต่ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในร่างกายได้ไม่นาน และ
ไม่มีการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเองและร่างกายไม่จำเชื้อโรค จึงมีโอกาสติดเชื้อโรคชนิดนั้นได้อีก
วัคซีน
ประเภทของวัคซีน
วัคซีนเชื้อตาย (killed vaccine)
ผลิตขึ้นโดยใช้เชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแล้วหรือ
เฉพาะส่วนประกอบบางส่วนของเชื้อโรค หรือโปรตีนส่วนประกอบของเชื้อที่ผลิตขึ้นมาใหม่
วัคซีนที่ทำจากแบคทีเรียหรือไวรัสทั้งตัวที่ทำให้ตายแล้ว (whole cell vaccine )
ให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีไข้ด้วย อาการมักจะเริ่มหลังฉีด
3– 4ชั่วโมง และจะคงอยู่ประมาณ 1 วัน บางครั้งอาจอยู่นานถึง 3 วัน
วัคซีนจากแบคทีเรียที่ตายแล้ว
วัคซีนไอกรน
(whole cell pertussis vaccine,wP)
วัคซีนอหิวาตกโรค
วัคซีนจากไวรัสที่ตาย
วัคซีนกลุ่มนี่มักจะต้องเก็บไว้ในตู้เย็น
ห้ามเก็บในตู้แช่แข็ง
เพราะจะทำให้แอนติเจนเสื่อมคุณภาพ
วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ
วัคซีนมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนที่ทำจากบางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัสที่เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกัน
วัคซีนจากไวรัสตาย
วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนจากแบคทีเรียตาย
วัคซีนฮิบ (Haemophilus influenzae type b)
วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ (acellular pertussis vaccine, aP)
วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดวีไอ (VI vaccine)
วัคซีนนิวโมคอคคัสแบบรุนแรงและแพร่กระจาย (Invasive Pneumococcal Disease, IPD)
วัคซีนประเภทท็อกซอยด์ (toxoid)
ทำให้มีอาการบวม แดง เจ็บบริเวณที่ฉีดและมีไข้ได้
โรคคอตีบ และโรคบาดทะยัก
ผลิตโดยการนำพิษของจุลชีพที่เป็นส่วน
สำคัญในการก่อโรคมาทำให้หมดฤทธิ์แต่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้
วัคซีนเชื้อมีชีวิตที่ทำให้อ่อนฤทธิ์หรือเชื้อเป็น (live-attenuated vaccine)
ผลิตขึ้นโดยใช้เชื้อโรคมาทำให้อ่อนฤทธิ์ลงจนไม่สามารถทำให้เกิดโรคแต่เพียงพอที่จะกระตุ้น
ให้เกิดภูมิคุ้มกัน ของร่างกายได้
วัคซีนจากไวรัสเป็น
วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน
วัคซีนโรต้าชนิดรับประทาน
วัคซีนรวมหัด คางทูม หัดเยอรมัน
วัคซีนไข้สมองอักเสบ
วัคซีนสุกใส
วัคซีนจากแบคทีเรียเป็น
วัคซีนวัณโรค (BCG)
วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดกิน
วัคซีนในกลุ่มนี้จะต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิตํ่าตลอดเวลา
การให้วัคซีนกลุ่มนี้แก่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
หรือผู้ที่ได้รับยาหรือสารกดภูมิคุ้มกันจะต้องระมัดระวัง
เพราะอาจมีอันตรายได้
แผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศ
วัคซีนพื้นฐาน (compulsory vaccines)
วัคซีนบีซีจี วัคซีนตับอักเสบบี
วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน
วัคซีนโปลิโอชนิด รับประทานและฉีด
วัคซีนหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน
วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี
วัคซีนมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนฮิบ และวัคซีนโรตา
วัคซีนเสริมหรือวัคซีนเผื่อเลือก (optional vaccines)
วัคซีนตับอักเสบเอ
วัคซีนอีสุกอีใส
วัคซีนนิวโมคอคคัสชนิดคอนจูเกต
วัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนใช้กรณีพิเศษ (vaccines in special circumstances)
วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ
โรคปอดเรื้อรัง และผู้สูงอายุ
วัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่นสำหรับผู้ที่จะเดินทางไปยังประเทศทางตะวันออกกลาง
วัคซีนที่กำลังอยู่ระหว่างการวิจัยและพัฒนา (investigation vaccines)
อยู่ในขั้นตอนของการวิจัย การผลิต หรืออยู่ระหว่างการทดลองในอาสาสมัคร เช่น
วัคซีนไข้เลือดออก
วัคซีนมาลาเรีย
วัคซีนเอดส์
อาการข้างเคียงได้รับวัคซีนและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
วัคซีนป้องกันโรควัณโรค
หลังฉีด 2-3สัปดาห์
เกิดตุ่มแดงโตขึ้นช้าๆฝีแตกออกจะเป็นแผลกว้าง 4-5 มม. แผลจะเป็นๆ หายๆ อยู่ประมาณ 3-4
สัปดาห์แล้วจะแห้งกลายเป็นรอยแผลเป็น
วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี
หลังฉีดยาประมาณ 3-4ชม
มีอาการปวด บวม บริเวณที่ฉีด
มีไข้ตํ่าๆ
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
หลังฉีดยาประมาณ 3-4ชั่วโมง
มีอาการปวด
บวม แดง ร้อน บริเวณที่ฉีด เป็นไม่เกิน 2 วัน
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ
โดยการรับประทาน
อาการข้างเคียงพบน้อยมาก
วัคซีนป้องกันโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม
หลังฉีดวัคซีน
เด็กอาจมีไข้ช่วงวันที่5-12
จะมีผื่นแดงพร้อมกับอาการไข้
อาการจะคงอยู่ประมาณ 2
วันก็จะหายไ
บางรายมีอาการคล้ายเป็นหวัด ปวดตามข้อร่วมกับอาการไข้ตํ่าๆ
ช่วงวันที 8-12
หลังฉีดยาและอาการจะคงอยู่ประมาณ1-3วันก็จะหายไป
วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ
อาจมีอาการปวด บวมแดงบริเวณที่ฉีดยา
หายได้เองในเวลา 2-3 วัน
มีไข้ตํ่าๆอ่อนเพลียไม่สบาย
กรณีที่มีไข้สูง ซึม
หรือมีผื่นลมพิษ หรืออาการอื่นใด
ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
วัคซีนป้องกันโรคฮิบ (HIB) หรือโรคติดเชื้อฮีโมฟิลุสอินฟลูเอนซา ชนิดบี
(Haemophilus influenzae type b, Hib)
อาการ ปวด บวม
แดง และรอนบริเวณที่ฉีด
อาจพบมีไข้สูง ผื่น และอาการกระสับกระส่ายบ้างแต่ไม่บ่อย
วัคซีนโรต้า
ไข้ เบื่ออาหาร อาเจียน งอแง ถ่ายเหลว
วัคซีนป้องกันโรควัคซีนนิวโมคอคคัส Pneumococcus
ไข้ ปวด บวม แดง
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส
บวม เจ็บแสบ ไข้ตํ่าๆ
พบผื่นแดงหรือตุ่มนํ้าใสเล็กน้อย
ภายใน 5-26 วัน
การดูแลหลังได้รับวัคซีน
BCG
ให้ใช้สำลีชุบนํ้าต้มสุกที่เย็นแล้วเช็ดรอบๆแผลแล้วซับให้แห้ง อย่าบ่งตุ่มหนองบางรายแผลเกิดเป็นตุ่มหนองขนาดใหญ่ หนองไหลจากแผล ต่อมนํ้าเหลืองโต ควรพาเด็กไปพบแพทย์
HB
ให้รับประทานยาลดไข้ได้ในขนาดที่เหมาะสม
DTP
หลังฉีดให้ประคบเย็น
บางครั้งพบมีก้อนไตแข็งใต้ผิวหนังบริเวณที่ฉีดยา
มีไข้ให้รับประทานยาลดไข้
MMR
ให้รับประทานยาลดไข้
เช็ดตัวด้วยนํ้าอุ่นเพื่อลดไข้
JE
ปวดบวมบริเวณที่ฉีดให้ประคบด้วยผ้าเย็น
หากมีไข้รับประทานยาลดไข้ในขนาดเหมาะสม
การเก็บรักษาวัคซีน
กำหนดการให้วัคซีนตามวัยของกระทรวงสาธารณสุข