Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่4 การพยาบาลแบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ - Coggle Diagram
หน่วยที่4 การพยาบาลแบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ
ความผิดปกติด้านความคิด
อาการหลงผิด
แนวคิดการเกิดอาการหลงผิด
แนวคิดจิตวิเคราะห์
ทำให้รู้สึกไม่ปลอดภัย และไม่สามารถสร้างความไว้วางใจผู้อื่นได้ ความภาคภูมิใจในตนเองต่ า อาจเกิดความกลัว ความเครียด และความวิตกกังวล ควบคุมตนเองไม่ได้ในสถานการณ์บางอย่าง
อาการหลงผิดที่คิดว่าคนอื่นมารัก (Erotomanic Delusions)อาการหลงผิดแบบมีพลังอำนาจ (Delusional Grandiosity)อาการหลงผิดแบบหึงหวง (Delusions of Jealousy)
แนวคิดชีววิทยา
ได้รับการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคสมองเสื่อม เนื้องอกในสมอง และการใช้สารเสพติดบางชนิด
ความผิดปกติของสารสื่อประสาทที่เกี่ยวข้อง คือ Dopamine Serotonin และ Nor-epinephrine
แนวคิดด้านสังคม
บุคคลที่มีอาการหลงผิดและหวาดระแวงมักมีพ่อแม่ที่เข้มงวด บังคับและสมบูรณ์แบบมากเกินไป
สาเหตุของความหลงผิด
ทางด้านร่างกาย : การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะของร่างกายที่เกี่ยวข้องการคิดหรือการรับรู้ ทำให้บุคคลมีการรับรู้ที่ผิดไป หรือมีการแปลความหมายที่ผิดไป หรือเกิดจากการได้รับสารพิษ
ทางด้าานจิตใจ : เป็นการใช้กลไกทางจิต(Defense Mechanism)ในการป้องกันตนเองเกินไป และในระดับที่เป็นพยาธิสภาพ
ทางด้านสังคม : การเลี้ยงดูในวัยเด็ก เลี้ยงดูอย่างไม่มีความสม่ำเสมอ เกิดความคิดสงสัย มองโลกในแง่ร้ายจนกลายเป็นความคิดหวาดระแวงและหลงผิด
ลักษณะทางคลินิกของผู้ที่มีความหลงผิด
อารมณ์ :ความรู้สึกและอารมณ์ที่ตรวจพบ มักสอดคล้องกับเนื้อหาที่หลงผิด
การรับรู้ :ผู้รับบริการที่มีอาการหลงผิดจะไม่มีอาการประสาทหลอนเด่นชัด อาจมีอาการประสาทหลอนกลิ่นหรือการสัมผัส สอดคล้องอาการหลงผิด
ความคิด :ความคิดผิดปกติเป็นอาการสำคัญ อาการหลงผิดมักเป็นระบบ
สภาวะแห่งตนและการตระหนักรู้ :ผู้รับบริการไม่มีความผิดปกติของการรับรู้วัน เวลา และสถานที่ ยกเว้นอาการหลงผิดที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ เวลา
การควบคุมตนเอง :อาการหลงผิดด้านความคิด หรือการวางแผนในการดำเนินการ
การตัดสินใจและการหยั่งรู้ตนเอง :ผู้รับบริการไม่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการหยั่งรู้ตนเอง และมักถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยตำรวจ ครอบครัว หรือนายจ้าง
อาการหวาดระแวง
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม มีประวัติบุคคลในครอบครัว
c
ประสบการณ์ชีวิตประจำวัน เกิดการรับรู้ไปในทางร้าย รู้สึกถูกคุกคามทำให้เกิดความกดดันทางจิตใจ ไม่สามารถปรับตัวได้
การได้รับสารพิษต่าง ๆ
การเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช
อาการและอาการแสดง
การรับรู้ : มักระแวงหรือมองผู้ใกล้ชิดว่าคิดแอบทำร้าย มีเจตนาร้าย ประสงค์ร้าย คอยคุกคาม ทำร้าย ทำอันตราย มักใช้กลไกป้องกันตนเอง (Defend Mechanism) แบบโทษผู้อื่น (Projection) วิธีการปฏิเสธ (Denial)
อารมณ์ :มีความรู้สึกสงสัย คลางแคลงใจ อิจฉาริษยา ขุ่นเคือง โกรธ ระแวดระวัง แบบไม่เป็นมิตรตลอดเวลา อารมณ์อ่อนไหว (Over Sensitivity)
พฤติกกรม :มีท่าทีป้องกันตัวเองตลอดเวลา ไม่ไว้วางใจผู้อื่น สายตาระแวดระวัง ชอบแอบมองผู้อื่นด้วยความสงสัย
กลไกการเกิดอาการหวาดระแวง
อาการหวาดระแวงเริ่มก่อตัวขึ้น เมื่อบุคคลเกิดความรู้สึกไม่เชื่อมั่น (Inconsistency) ต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม รู้สึกไม่ไว้วางใจ (Mistrust) รู้สึกไม่เป็นมิตรกับบุคคลทั่วไป (Hostile) เมื่อเกิดปัญหาขึ้นก็มักจะโทษผู้อื่น (Projection) การมีประสบการณ์ที่ไม่สามารถแก้ปัญหาหรือทำสิ่งใด ๆ ด้วยตนเองไม่สำเร็จ สูญเสีย ทำให้ขาดความภาคภูมิใจ ไม่มั่นใจในตนเอง ใช้กลไกการป้องกันทางจิตแบบปฏิเสธ (Denial)ควบคู่ไปด้วย
ประเภทของอาการหวาดระแวง
Simple Paranoid State : ความหลงผิดนี้ค่อนข้างฝังแน่น เป็นจริงเป็นจัง อาจมีลักษณะแบบเฉียบพลันหรือแบบเรื้อรัง
Paranoid : ตนถูกปองร้าย หรือร่างกายผิดปกติมักเกิดในวัยกลางคนและสูงอายุ มักมีชีวิตตามปกติ สามารถทำงานได้
Paraphrenia :ป็นอาการหวาดระแวงของจิตเภท (Paranoid Schizophrenia)มักมีอาการหลงผิดคิดว่าคนอื่นมาทำร้ายและตนเองเป็นผู้ยิ่งใหญ่ บุคลิกภาพและสติปัญญาไม่ผิดปกติ
Induced Psychosis :อาการหวาดระแวงชนิดเรื้อรัง และไม่มีลักษณะชัดเจน เกิดจากการได้รับความทรมานจากอาการหลงผิดแบบหวาดระแวง
การรักษา
การใช้ยา :พยาบาลต้องตรวจสอบการรับประทานยาของผู้รับบริการอย่างเคร่งครัด
จิตบำบัด :อาจช่วยลดความเครียดระหว่างผู้รับบริการและคู่ครอง และกระตุ้นให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจความรู้สึกของกันและกัน
พฤติกกรรมบำบัด :เพื่อลดความอิจฉาที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ พฤติกรรมบ าบัดยังช่วยละลายพฤติกรรมก้าวร้าวโดยการไม่โต้แย้งกับผู้รับบริการ
ความผิดปกติด้านการรับรู้
ประสาทลวง(Illusion)
เป็นความผิดปกติของการรับรู้ที่มีสิ่งเร้ากระตุ้นต่อประสาทสัมผัส แต่บุคคลรับรู้หรือแปลผิด เช่น เห็นสายน้ าเกลือหรือเห็นเชือกเป็นงู
ประสาทหลอน(Hallucination)
สาเหตุ
เกิดในผู้รับบริการที่มีความผิดปกติทางจิต เช่น จิตเภท ซึมเศร้า เพ้อ สับสน ความจำเสื่อม และอาการที่เกี่ยวข้องกับสุราและสารเสพติด อาการประสาทหลอนอาจเกิดในคนปกติที่มีประสบการณ์การแยกตัวการรับรู้การเปลี่ยนแปลง
ประสาทหูหลอน ได้แก่ ความเครียดจากปัจจัยด้านชีววิทยา จิตวิทยา สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
อาการประสาทหลอนมักอยู่คนเดียว นั่งและจ้องไปที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ ยิ้มและพูดกับตนเอง อาจมีอาการโกรธหรือทำร้ายผู้อื่น มีพฤติกรรมแปลก
การจำแนกประสาทหลอน
ประสาทหลอนทางหู หรือเสียงแว่ว: อาการประสาทหลอนทางหู คือ การได้ยินเสียงแว่ว หรือที่เรียกว่าหูแว่วเป็นอาการสeคัญ และได้รับการวินิจฉัยบ่อยที่สุด
ประสาทตาหลอนหรือภาพหลอน :การเห็นภาพหลอนอาจเป็นได้ตั้งแต่รูปแบบที่ไม่ซับซ้อน เช่น แสงวาบ
ประสาทหลอนด้านการรับกลิ่น :ประสาทหลอนทางการรับกลิ่นอาการนี้เกิดขึ้นได้ในผู้รับบริการจิตเภท และ Organic State เช่น โรคลมชัก
ประสาทหลอนด้านการรับรส :รสชาติหลอนนี้อาจเป็นรสชาติของอาหารหรือสิ่งของ ได้แก่รสหัวหอม รสโลหะ
ประสาทหลอนทางผิวสัมผัส
Superficial Hallucination คือ อาการประสาทหลอนทางผิวกาย ได้แก่ Thermic Hallucination, Hepatic (Tactile) Hallucination and Paraesthesic Hallucination
Kinaesthetic Hallucination เป็นอาการประสาทหลอนที่เกิดกับข้อและกล้ามเนื้ออาการนี้มักเกิดร่วมกับ Somatic Delusion
Visceral Hallucination เป็นอาการประสาทหลอนที่เกิดกับอวัยวะภายใน
ป็นการรับรู้แบบผิด ๆ ผ่านประสาทการรับรู้ทั้ง 5 แสดงออกในเรื่องของรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสโดยที่ไม่มีสิ่งเร้าภายนอก
ความผิดปกติด้านพฤติกรรมและบุคลิกภาพ
พฤติกรรมแยกตนเอง
ลักษณะทางคลินิกพฤติกรรมแยกตัว : จะมีลักษณะเย็นชา ห่างเหิน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้อื่น เป็นคนเงียบ ๆ ที่คนเข้าไม่ถึง แยกตัว ไม่เข้าสังคม มีชีวิตอยู่อย่างเงียบ ๆ
ลักษณะเด่นของพฤติกรรมแยกตัว
Autistic Thinkingความคิดจะวกวนอยู่แต่เรื่องของตนเอง ไม่สามารถแยกตนเองจากสิ่งแวดล้อมได้
Out of Reality อยู่ในโลกของความฝัน(Fantasy)การแสดงออกไม่สอดคล้องกับเหตุการณ์ มีประสาทหลอน (Hallucination)แปลภาพผิด (Illusion)หลงผิด (Delusion) ตามมา
Impairment of Intelligent ความสามารถทางสติปัญญาเสื่อมลง การตัดสินใจเสีย
Inappropriate Mood อารมณ์จะราบเรียบ (Apathy)ทุกครั้งอารมณ์ไม่สมเหตุผล
เกณฑ์การวินิจฉัยพฤติกรรมแยกตัว
ไม่สนใจจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้อื่น หรือใกล้ชิดกับคนในครอบครัว
ชอบทำกิจกรรมที่ต้องทำคนเดียว
ไม่มีเพื่อนสนิทหรือมีน้อยมาก
แสดงให้เห็นว่าอารมณ์เยือกเย็น อารมณ์ราบเรียบ ไม่มีอารมณ์ร่วมกับผู้อื่น
กลไกการเกิดพฤติกรรมแยกตัว
ครอบครัวที่บิดามารดาหรือบุคคลในครอบครัวมีความขัดแย้งกัน
ครอบครัวที่บิดามารดามีลักษณะปกป้องคุ้มครองเด็กมากเกินไป เด็กไม่มีโอกาสเผชิญปัญหาด้วยตนเอง เมื่อเผชิญกับสิ่งแวดล้อมตามลำพัง จึงไม่กล้าตัดสินใจ
พฤติกรรมเจ้ากี้เจ้าการ
สาเหตุการเกิดพฤติกรรม :มีความวิตกกังวล ความต้องการไม่สมหวัง มีความต้องการโดยไม่ค านึงถึงความต้องการของผู้อื่น การปรับตัวไม่สมดุลโดยจะให้ผู้อื่นทeงานทุกอย่างแทนตนเอง
ลักษณะเด่นของพฤติกรรม :
ต่อต้านกระบวนการบeบัดรักษาพยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญปัญหา
แสดงพฤติกรรมเรียกร้องความสนใจ
ขออภิสิทธิ์
ขัดขืน ขัดแย้ง ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ
ยุแหย่ ก่อเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจผิดกัน
ถ้าถูกจำกัดสิทธิ์หรือขัดใจ จะแสดงปฏิกิริยารุนแรง
ปฏิเสธความจริงที่เกิดขึ้น
แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
แบบกลางๆ :มีชีวิตเรียบง่าย ไม่ชอบเก็บตัวมากไปและไม่ชอบแสดงออกมากไป อยู่คนเดียวก็มีความสุข คบหากับคนทั่วไปได้ดี ไม่พูดมากเกินไป ไม่น้อยเกินไป
แบบชอบแสดงตัว: มีลักษณะเปิดเผย กล้าแสดงออก ชอบเป็นจุดเด่น แต่งตัวดี ร่าเริงแจ่มใส ชอบความสนุกสนาน มีน้ าใจ ชอบช่วยเหลือ ชอบเข้าสังคม
แบบชอบเก็บตัว :มีลักษณะเงียบเฉย ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก ไม่ค่อยพูดถ้าจะพูดก็มักจะพูดเรื่องของตัวเอง ชอบเขียนมากกว่าพูด
นางสาววริศรา ทะบูรกรณ์ รหัสนักศึกษา1162122011080 นักศึกษาชั้นปีที่3