Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพในระบบโลหิตวิทยาและนีโอพลาสซ…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพในระบบโลหิตวิทยาและนีโอพลาสซึม
ปัญหาระบบโลหิตวิทยาในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Iron deficiency Anemia
เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี จะมี Hb < 11 กรัม/เดซิลิตร หรือ Hct < 33 %
ด็กอายุ 6 ปี-14 ปี จะมี Hb < 12 กรัม/เดซิลิตร หรือ Hct < 36 %
สาเหตุ
ร่างกายต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น ตามวัยการเจริญเติบโต
ทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอกับภาวะที่ร่างกาย
รับประทานอาหารที่มีวิตามินซีต่ำ เพราะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
ทารกในครรภ์ได้รับธาตุเหล็กน้อยลง เช่น ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีภาวะสูญเสียเลือดอย่างเรื้อรัง
การรักษา
รับประทานวิตามินที่มีธาตุเหล็กเสริม และอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ เนื้อสัตว์อื่นๆ และ ผักใบเขียว
รับประทานยาที่มีธาตุเหล็กจนระดับฮีโมโกลบินเพิ่มขึ้นถึงระดับปกติ
การให้เลือด เฉพาะในรายที่ผู้ป่วยมีภาวะซีดมาก หรือมีอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย
อาการและอาการแสดง
มีอาการซีด เล็บขรุขระหรือเล็บอ่อนบางแบน หรือแอ่นลงเป็นรูปช้อน (Koilonychial)
ซึม ไม่ร่าเริง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หงุดหงิดง่าย ไม่อยากรับประทานอาหาร ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หอบเหนื่อย และมีภาวะหัวใจโตและหัวใจวาย
ติดเชื้อง่าย ปากเปื่อย ลิ้นเลี่ยนแตกและอักเสบ (Glossitis) ผมแห้ง แตกง่ายและมีแผลเปื่อยตามตัว
Idiopathic or Immune Thrombocytopenic Purpura-ITP
สาเหตุ
ไขกระดูกสร้างเกล็ดเลือดได้น้อยลง
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
โรคทางระบบโลหิตวิทยาที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ ได้แก่ Leukemia
อาการและอาการแสดง
Petichiae และ Ecchymosis
เลือดกำเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่าง ๆ รวมทั้งในทางเดินอาหาร
เลือดออกในสมอง เช่น ซึม ชัก ระดับความรู้สึกตัวลดลง ความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อน
ช็อกจากการเสียเลือด
มีเลือดอออกในสมอง
การรักษา
รักษาตามอาการ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก
การรักษาโดยใช้ยา Steroid ได้แก่ Dexamethasone, Prednisolone
การตัดม้าม (Splenectomy) ในรายที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผล
การให้ Intravenous immunoglobulin (IVIg) ในผู้ป่วย ITP
Hemophilia
ชนิด
Hemophilia B
ขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือด
เรียกว่า แฟคเตอร์ IX
Hemophilia O
ขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือด
ชื่อเรียกว่า แฟคเตอร์ X
Hemophilia A
ขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
เรียกว่า แฟคเตอร์ VIII
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างองค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด
ขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือด
อาการและอาการแสดง
จ้ำเลือดใหญ่ ๆ ตามลำตัวและแขนขา
เลือดออกเมื่อฟันน้ำนมหลุด หรือมีบาดแผล
เลือดออกในข้อและในกล้ามเนื้อ
เลือดออกที่อวัยวะอื่น ๆ เช่น ในทางเดินอาหาร สมอง
การรักษา
การรักษาด้วย DDAVP
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรค และการปฏิบัติตนของผู้ป่วย
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อกจากการเสียเลือด
เด็กเล็กหากมีเลือดออกที่คอ อาจกดทางเดินหายใจ (Trachea) ทำให้มีการอุดกั้นทางเดินหายใจได้
มีเลือดออกในอวัยวะภายในที่สำคัญ
มีเลือดออกในข้อ อาจทำให้เกิดภาวะข้อพิการเนื่องจากข้อติดแข็ง
G-6-PD Deficiency
อาการและอาการแสดง
เมื่อเจ็บป่วยหรือได้รับยาหรือสารเคมีบางชนิด หรือมีการติดเชื้อเกิดขึ้น
เม็ดเลือดแดงแตก ทำให้เกิดอาการซีด
ปัสสาวะเป็นสีน้ำปลา (Hemoglobinuria)
เม็ดเลือดแดงอายุสั้น ทำให้มีอาการซีด เหลือง หากอาการรุนแรงจะเกิดภาวะ Kernicterus ได้
การรักษาและการป้องกัน
หลีกเลี่ยง ยา สารเคมี และ ปัจจัยอื่นๆ ที่อาจกระตุ้นให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดง
ให้เลือดหากมีอาการซีดมาก ควรให้ในรูป Packed red cell
ดูแลเรื่อง Fluid electrolyte balance
ควรมีการตรวจภาวะพร่อง G-6-PD ในผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะ hemolysis ได้บ่อย
ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นรวมทั้งการระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาต่างๆ
Aplastic Anemia
สาเหตุ
ได้รับสารเคมีบางชนิดซึ่งเป็นพิษต่อระบบเลือดเป็นประจำ เช่น ยาฆ่าแมลง
เกิดภายหลังการติดเชื้อ เช่น ไวรัสตับอักเสบ
ได้รับยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบำบัดบางตัว ยา Chloramphenicol
โรคทางพันธุกรรม
เกิดภายหลังการได้รับรังสีรักษาในขนาดสูง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ จะมีจุดจ้ำเลือดตามลำตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟัน และเลือดกำดำไหล อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
เวียนศีรษะ หน้ามืด ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็ว
ให้ความต้านทานต่อโรคต่ำ มีการติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นแผลในปาก
การรักษา
รักษาได้โดยการปลูกถ่ายไขกระดูก
ใช้ฮอร์โมนแอนโดรเจน กระตุ้นให้ร่างกายมีการหลั่ง Erythropoietin
รักษาด้วยยากดระบบอิมมูน ได้แก่ Antithymocyte globulin (ATG)
Thalassemia
สาเหตุ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
มีอาการแสดงของเม็ดเลือดแดงแตกอย่างเรื้อรัง เช่น ซีดเหลือง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปัสสาวะสีเข้ม
thalassemia faces คือ จมูกแบน โหนกแก้มสูง คางและชากรรไกรกว้าง ฟันยื่นเขยิน กระดูกกะโหลกศีรษะโหนกยื่นเป็นตอนๆ
ตับม้ามโต
การเจริญเติบโตช้า ตัวเตี้ยเล็ก น้ำหนักน้อย
ผิวหนังมีสีเทาอมเขียว และจะมีสีคล้ำง่ายเมื่อถูกแสง
หัวใจโต ตับแข็ง เบาหวาน เนื่องจากมีเหล็กจับอวัยวะ
เม็ดเลือดแดงแตกง่าย (Hemolysis crisis)
การรักษา
ให้เลือด
ให้ยาขับเลือด ได้แก่ ยา Desferioxamine Deferiprone
การตัดม้าม (splenectomy) ในกรณีม้ามโต อึดอัด
ให้ยาบำรุงช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง ได้แก่ กรดโฟลิค หรือโฟเลต
ปลูกถ่ายไขกระดูก เป็นการรักษาธาลัสซีเมียให้หายขาดได้
ปัญหาระบบนีโอพลาสซึมในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Leukemia
สาเหตุ
สารเคมีบางชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาร benzene
ยาเคมีบำบัดบางชนิดที่สามารถก่อให้เกิดโรคมะเร็ง ได้แก่ กลุ่ม alkylating agents, epipodophyllotoxins และ anthracycline
การได้รับหรือสัมผัสกับรังสี
ปัจจัยทางพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
ซีด จากการที่ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย
มีไข้ต่ำ ๆ หรือภาวะติดเชื้อซ้ำ ๆ บ่อย ๆ
มีจุดเลือด จ้ำเลือดบริเวณผิวหนัง เลือดกำเดาไหล ปวดท้อง ถ่ายสีดำ เนื่องจากไขกระดูกสร้างเกร็ดเลือดลดลง
ตับโต ม้ามโต และปวดกระดูกจากการที่เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวไปแทรกอยู่ตามอวัยวะต่างๆ
น้ำหนักลด เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
ให้ยาเคมีบำบัด ได้แก่ Methotrexate, 6-PM, Cyclophosphamide, Vincristine, Adriamycin
ใช้รังสีรักษาบริเวณกะโหลกศีรษะ
การกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ให้ยากลุ่ม G-CSF
การปลูกถ่ายไขกระดูก
Neuroblastoma
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม คือ ยีน ในแขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 1 ขาดหายไป
ยีนมีการเพิ่มจำนวนมากกว่าปกติ
เซลล์อ่อนของเซลล์ประสาทมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็ง
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในท้อง จะมีอาการแน่นท้อง ระบบทางเดินอาหารทำงานผิดปกติ คลำพบก้อนในท้องผิวขรุขระ แข็ง กดเจ็บ
ก้อนกดอวัยวะต่างๆ เช่น ก้อนกดไต กระเพาะปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะบ่อยหรือเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะ
ก้อนอยู่ในช่องอก อาจทำให้ปอดขยายไม่ดี ไอ หายใจลำบาก กดหลอดอาหารทำให้กลืนลำบาก
ไข้ น้ำหนักตัวลดลง อุจจาระเหลวบ่อยครั้ง
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด ได้แก่ Cyclophosphamide, Vincristine
การปลูกถ่ายไขกระดูก
Brain tumor
สาเหตุ
การได้รับการฉายรังสีที่ศีรษะ
ความผิดปกติของโครโมโซม
การเจริญผิดปกติของ Neural crest
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ คอแข็ง อาเจียนพุ่ง ชัก ซึม มองเห็นภาพไม่ชัด กระหม่อมโป่งตึง ศีรษะโต กล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็งชัก
อาการขึ้นอยู่กับตำแหน่งการเกิด ขนาด การเจริญเติบโตของเนื้องอก
การรักษา
การผ่าตัดเอาเนื้องอกหรือส่วนที่มีพยาธิสภาพออก
ใช้รังสีรักษาเพื่อลดขนาดของก้อนเนื้องอกให้เล็กลงก่อนการผ่าตัด
ใช้เคมีบำบัดและยาอื่นๆ เช่น vincristine, proparacaine,
Retinoblastoma
อาการและอาการแสดง
มีตาวาวเหมือนตาแมวในเวลากลางคืน
กรวดน้ำไขสันหลังเพื่อดูการกระจายของโรค
อาจพบก้อนเนื้องอกสีขาวปนเทา เมื่อมองไปในรูม่านตา
การรักษา
การให้รังสีรักษา มักจะใช้ในระยะแรกเริ่ม เพื่อทำลายเซลส์มะเร็ง
การผ่าตัด เอาก้อนเนื้องอกออกพร้อมลูกตา
ให้ยาเคมีบำบัด ยาเคมีบำบัดที่ได้ผล ได้แก่ doxorubicin, vincristine
Wilms’ Tumor/Nephroblastoma
สาเหตุ
กความผิดปกติในการสร้างสายพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง ลักษณะผิวเรียบ
ปัสสาวะเป็นเลือดจากการลุกลามเข้าไปในเนื้อไต
ซีด ปวดท้อง ไข้ เบื่ออาหาร
ความดันโลหิตสูง
อาการผิดปกติที่อาจพบร่วม เช่น Hypospadias
การรักษา
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด เพื่อลดขนาดของก้อน
การใช้รังสีรักษาบริเวณตำแหน่งของไต
การรักษาโดยการผ่าตัด
Lymphoma
สาเหตุ
เชื้อไวรัส ติดเชื้อ Epstein - Barr virus
การได้รับยาดภูมิคุ้มกันเป็นเวลานาน
ชนิด
Hodgkin’s Disease (HD)
Non- Hodgkin’s Lymphoma (NHL)
อาการและอาการแสดง
Hodgkin’s Disease
ต่อมน้ำเหลืองโต ที่พบบ่อย คือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ ไม่มีอาการเจ็บปวด
รักแร้ ขาหนีบ และด้านหลังเยื่อบุช่องท้อง
ต่อมที่โตกดไม่เจ็บ ก้อนแข็งคล้ายยางลบ (Rubbery consistency)
Non-Hodgkin’s Lymphoma
มีอาการโตของก้อนเนื้องอกเร็วมาก มักพบบริเวณจำเพาะ เช่น บริเวณรอบกระดูกขากรรไกร หรือที่ท้อง
ระยะการแบ่งโรค
การรักษา
การใช้รังสีรักษา ได้ผลดีในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็ง Hodgkin เฉพาะที่
การให้เคมีบำบัด มักใช้รักษามะเร็งในระยะที่ 4
การรักษาด้วยรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด นิยมใช้มากและได้ผลดีที่สุด