Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมตาม อาการทางจิตที่สำคัญ, นางสาวสิริรัตน์ ชมเกษร รหัส…
การพยาบาลแบบองค์รวมตาม
อาการทางจิตที่สำคัญ
ความผิดปกติด้านความคิด
อาการหลงผิด (Delusion)
แนวคิด การเกิดอาการหลงผิด
-แนวคิดจิตวิเคราะห์ เกิดจากพัฒนาการด้านอารมณ์ล่าช้า จากการขาดการกระตุ้นหรือขาดความสนใจจากพ่อแม่
-แนวคิดชีววิทยา ใน ฝาแฝด พบว่าอาการหลงผิดเกี่ยวข้องกับการทางานที่ผิดปกติของ Limbic System and Basal Ganglia ในสมอง โดยเฉพาะสมองซีกซ้าย
-แนวคิดด้านสังคม บุคคลที่มีอาการหลงผิด มักมีพ่อแม่ ที่เข้มงวด บังคับและสมบูรณ์แบบมากเกินไป
สาเหตุของความหลงผิด
-ทางด้านจิตใจ เป็นการใช้กลไกทางจิต ในการป้องกันตนเองเกินไป
-ทางด้านร่างกาย เป็นโรคที่ทำให้มีการสูญที่เกี่ยวข้องกับการคิดหรือการรับรู้ ทำให้บุคคลมีการรับรู้ที่ผิดไป
-ทางด้านสังคม จากการเลี้ยงดูในวัยเด็ก เลี้ยงดูอย่างไม่มีความสม่าเสมอ
ลักษณะทางคลินิกของผู้ที่มีความหลงผิด
-อารมณ์ ความรู้สึกและอารมณ์ที่ตรวจพบ มักสอดคล้องกับเนื้อหาที่หลงผิด
-การรับรู้ ผู้รับบริการที่มีอาการหลงผิดจะไม่มีอาการประสาทหลอนเด่นชัด
-ความคิด ผู้รับบริการมีเนื้อหาความคิดผิดปกติเป็นอาการสำคัญ อาการหลงผิด มัก เป็นระบบ
-สภาวะแห่งตนและการตระหนักรู้ ผู้รับบริการไม่มีความผิดปกติของการรับรู้วัน เวลา และสถานที่
-การควบคุมตนเอง ถ้าผู้รับบริการไม่สามารถควบคุมตนเองได้ มักต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
-การตัดสินใจและการหยั่งรู้ตนเอง ผู้รับบริการมักถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยตำรวจ ครอบครัว หรือนายจ้าง
อาการหวาดระแวง (Paranoid)
สาเหตุ
-ด้านพันธุกรรม มีประวัติบุคคลในครอบครัว
-ด้านการเลี้ยงดูขาดความอบอุ่นและความรักในครอบครัว
-ประสบการณ์ชีวิตประจำวัน เกิดการรับรู้ไปในทางร้าย
-การได้รับสารพิษต่าง ๆ เช่น สุรา แอมเฟตามีน เป็นต้น
-การเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิต เวช เช่นโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวงเป็นต้น
อาการและอาการแสดง
-พฤติกรรม มีท่าทีป้องกันตัวเองตลอดเวลา ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
-การรับรู้ มักระแวงหรือมองผู้ใกล้ชิดว่าคิดแอบทำร้าย
-อารมณ์ มีความรู้สึกสงสัย คลางแคลงใจ อิจฉาริษยา
ประเภทของอาการหวาดระแวง
-Induced Psychosis เป็นอาการหวาดระแวงชนิดเรื้อรัง และไม่มีลักษณะชัดเจน เกิดจาก
-Paraphrenia เป็นอาการหวาดระแวงของจิตเภท (Paranoid Schizophrenia) มักมีอาการ หลงผิดคิดว่าคนอื่นมาทำร้ายและตนเองเป็นผู้ยิ่งใหญ่
-SimpleParanoidStateเป็นสภาวะหวาดระแวงซึ่งมีความหลงผิด
ว่าตนถูกควบคุมบังคับ ถูกปองร้าย
-Paranoidเป็นความหวาดระแวงที่เป็นเรื่องราวเกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลานานฝังแน่นโดยไม่มีอาการประสาทหลอนร่วมด้วย
การรักษา
-พฤติกรรมบำบัด อาจช่วยให้คู่ครองของผู้รับบริการเข้าใจพฤติกรรมของผู้รับบริการและ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น
-การใช้ยา พยาบาลต้องตรวจสอบการรับประทานยาของผู้รับบริการอย่างเคร่งครัด
-จิตบำบัด อาจช่วยลดความเครียดระหว่างผู้รับบริการและคู่ครอง และกระตุ้นให้ทั้งสอง ฝ่ายเข้าใจความรู้สึกของกันและกัน
ความผิดปกติด้านการรับรู้
ประสาทลวง (Illusion)เป็นความผิดปกติของการรับรู้ที่มีสิ่งเร้า
กระตุ้นต่อประสาทสัมผัส แต่บุคคลรับรู้หรือแปลผิด
ประสาทหลอน (Hallucination)
สาเหตุ
เกิดในผู้รับบริการที่มีความผิดปกติทางจิต เช่น จิตเภท ซึมเศร้า เพ้อ สับสน ความจำเสื่อม และอาการที่เกี่ยวข้องกับสุราและสารเสพติด
อาการและอาการแสดง
ผู้รับริการที่มีอาการประสาทหลอนมักอยู่คนเดียว นั่งและจ้องไปที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ ยิ้ม และพูดกับตนเอง อาจมีอาการโกรธหรือทำร้ายผู้อื่นมีพฤติกรรมแปลก ๆ
การจำแนกประสาทหลอน
-ประสาทหลอนทางผิวสัมผัส
-ประสาทหลอนด้านการรับรส
-ประสาทหลอนด้านการรับกลิ่น
-ประสาทตาหลอน หรือ ภาพหลอน
-ประสาทหลอนทางหู หรือเสียงแว่ว
ความผิดปกติด้านพฤติกรรมและบุคลิกภาพ
แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
-แบบชอบแสดงตัว (Extrovert) มีลักษณะเปิดเผย กล้าแสดงออก
-แบบชอบเก็บตัว (Introvert) มีลักษณะเงียบเฉย ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก
แบบกลาง ๆ (Ambivert) มีชีวิตเรียบง่าย ไม่ชอบเก็บตัวมากไปและไม่ชอบ แสดงออกมากไปอยู่คนเดียวก็มีความสุขคบหากับคนทั่วไปได้ดี
พฤติกรรมแยกตัว /บุคลิกภาพแบบเก็บตัว (Withdraw Behavior/Schizoid Personality Disorder)
การแยกตัว (Withdrawal) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมแยกตนเองจากการพบปะติดต่อกับบุคคล และความกดดันต่างๆหนีจากสิ่งแวดล้อม
ลักษณะเด่นของพฤติกรรมแยกตัว
-การเคลื่อนไหวช้า ไม่กระฉับกระเฉง
-InappropriateMoodอารมณจ์ะราบเรียบ
(Apathy)ทุกครั้งอารม์ไม่สมเหตุผล
-Impairment of Intelligent ความสามารถทางสติปัญญาเสื่อมลง
-Autistic Thinking ความคิดจะวกวน อยู่แต่เรื่องของตนเอง
-Out of Reality อยู่ในโลกของความฝัน (Fantasy)
-ขาดความสนใจด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
กลไกการเกิดพฤติกรรมแยกตัว
-ครอบครัวที่บิดามารดามีลักษณะแยกตัวซึมเฉยเงียบไม่ค่อยแสดงออก
-ครอบครัวที่บิดามารดาหรือบุคคลในครอบครัวมีความขัดแย้งกัน
-ครอบครัวที่บิดามารดามีลักษณะปกป้องคุ้มครองเด็กมากเกินไป
-ครอบครัวมีปัญหาร้าวฉาน ยุ่งยาก บิดามารดาทะเลาะวิวาทกันเสมอ
พฤติกรรมเจ้ากี้เจ้าการ (Manipulative Behavior)
พฤติกรรมเจ้ากี้เจ้าการ (Manipulative Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่มีอิทธิพลควบคุมบุคคลอื่น โดยใช้อำนาจหรืออิทธิพลเหนือผู้อื่น
สาเหตุการเกิดพฤติกรรม
มักพบในบุคคลมีความวิตกกังวล ความต้องการไม่ สมหวัง มีความต้องการโดยไม่คำนึงถึงความต้องการของผู้อื่น การปรับตัวไม่สมดุล
ลักษณะเด่นของพฤติกรรม
-ยุแหย่ ก่อเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจผิดกัน ขออภิสิทธิ์ ต่อต้านกระบวนการบำบัดรักษา แสดงพฤติกรรมเรียกร้องความสนใจ ขัดขืน ขัดแย้ง ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ถ้าถูกจากัดสิทธิ์หรือ ขัดใจ จะแสดงปฏิกิริยารุนแรง
นางสาวสิริรัตน์ ชมเกษร
รหัส 1162122010504