Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตเวชชุมชน ภาวะวิกฤต ภัยพิบัติ และการบำบัด - Coggle Diagram
จิตเวชชุมชน ภาวะวิกฤต ภัยพิบัติ และการบำบัด
ภาวะวิกฤต ภัยพิบัติ และการบำบัด
องค์ประกอบ
1.การรับรู้เหตุการณืของบุคคล
2.การมีบุคคลที่ช่วยเหลือ
3.ความสามารถในการเผชิญกับความเครียด
ชนิด
• ภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นตามขั้นพัฒนาการ
• ภาวะวิกฤตจากสถานการณ์ภายนอก
การตอบสนอง
1.บุคคลรู้สึกว่ามีความตึงเครียด รับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
2.ความเครียดยังคงมรอยู่สูงมาก
3.ความเครียดสูงมากขึ้นอีก
4.ระดับความเครียดสูงสุด
การพยาบาลและการดูแล
เป้าหมาย
• ลดความเครียดไม่ให้เกิดขึ้นเพิ่ม
• ให้แก้ปัญหาในปัจจุบัน
• สามารถกลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิม
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิตชุมชน
หลักเบื้องต้น
1.รูปแบบของการบำบัดรักษา ใช้กลุ่มบำบัด
2.บริการแก่ชุมชนแบบเบ็ดเสร็จและต่อเนื่อง โดยเจ้าหน้าที่ร่วมมือกับประชาชนที่ได้รับบริการ
3.บริการสุขภาพจิตและจิตเวชมีความจำเป็นสำหรับบุคคลที่ต้องการความช่วยเหลือ จึงให้บริการตามความต้องการเฉพาะกลุ่ม
4.สุขภาพจิตชุมชนจำเป็นต้องใช้กระบวนการพยาบาลร่มกับการวินิจฉันชุมชน
การป้องกันระยะแรก
• เป็นการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
• ขจัดปัจจัยที่มีผลต่อการเจ็บป่วยทางจิตใจ
• เน้นถึงการค้นหาสาเหตุของการเจ็บป่วยทางจิตใจ
• ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้
• ค้นหากลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง
การป้องกันระยะที่สอง
• เพื่อลดจำนวนการเจ็บป่วยทางจิตใจให้น้อยลง
• เน้นการบำบัดรักษาโรคทางจิตเวชไม่ให้ลุกลาม
• วินิจฉันโรค ค้นหาปัญหา สาเหตุ ที่ทำให้เกิดอาการได้ถูกต้อง
• ลดสาเหตุ ปัจจัยที่ทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น
• ให้การบำบักรักษาความผิดปกติทางจิตใจที่พบโดยเร็ว
• ช่วยเหลือบุคคลที่เกิดภาวะวิกฤต
การป้องกันระยะที่สาม
• เน้นฟื้นฟูสภาพผู้เจ็บป่วยทางจิตให้หารหรือทุเลาลง
• การรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
• เน้นการป้องกันความพิการ
• การให้ความรู้กับญาติของผู้ป่วย
หลักการให้บริการ
• บริการในชุมชนเป็นฐาน
• บริการที่เข้าหาผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง
• เน้นการป้องกันมากกว่าแก้ไข
• ลดค่าใช้จ่ายในการให้บริการโดยรวม
• บริการครบรูปแบบ
• ให้บริการสหวิชาชีพ
• ให้บริการอย่างต่อเนื่อง
• ผสมผสานกับบริการสาธรณสุขอื่น
• มีการประเมินผลและวิจัย
• มีการส่งผู้ป่วยอย่างมีระบบ
จิตเวชชุมชนและบทบาทของพยาบาล
• เน้นบริการการดูแลผู้ป่วยเป็นกรณี
• ให้ความรู้แบบองค์รวม
• เป็นผู้ร่วมจัดการดูแลลแบบองค์รวม
• ประเมินวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการ
• รับผิดชอบเรื่องยาและตอบสนองต่อการให้บริการ
• ให้ความร่วมมือกับผู้ใช้บริการ
• ทำวิจัยและมีส่วนรวม
การป้องกันระยะแรก
• ค้นหาสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียดและหาประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
• จีดกลุ่มส่งเสริมและให้ความรู้
• จะกลุ่มกิจกรรมช่วยเหลือ
• ให้คำปรึกษาแนะนำในการดูแลสุขภาพจิต
• ให้การศึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ประชาชน
การป้องกันระยะที่สอง
• ทำจิตบำบัด
• ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
• ให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษา
• ช่วยลดภาวะความเครียดหรือความกดดัน
• ให้การบริการในโรงพยาบาลและดูแลเรื่องยา
• ให้บริการฉุกเฉิน
การป้องกันระยะที่สาม
• ทำแผนจำหน่ายผู้ป่วย
• ประสานงาน ช่วยเหลือ ติดตาม
• สอนให้ผู้ป่วยรู้จักดูแลตนเองก่อน
กระบวนการพยาบาล
1.การประเมินภาวะ เพื่อค้นหาผู้มีปัญหาหรือกลุ่มเสี่ยง
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล เพื่อระบุสภาพปัญหา ความต้องการ
3.การวางแผนการพยาบาล เพื่อกำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง และเกณฑ์การประเมินผล
4.การปฏิบัติการพยาบาล ให้การพยาบาลผู้ที่มีความเสี่ยง
5.การประเมินผล ประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาลิย่างต่อเนื่อง
ประเด็นและแนวโน้มของจิตเวชชุน
• เน้นให้ชุมชนสามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่มามีส่วนร่วมรับผิดชอบ
• เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพจิตที่ดีของชุมชน