Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบต่อมไร้ท่อ, image - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบต่อมไร้ท่อ
Diabetes mellitus
Type I diabetes mellitus หรือ IDDM
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส เช่น คางทูม หัดเยอรมัน สุกใส
Autoimmune system
ความผิดปกติทางพันธุกรรม หรือบิดาหรือมารดาเป็นโรคเบาหวาน
โรคของตับอ่อน เช่น การติดเชื้อ การอักเสบ มะเร็ง
เบต้าเซลล์ (β-cell) ที่ตับอ่อนเสื่อมหรือถูกทำลาย จนไม่สามารถผลิตอินซูลินหรือ ผลิตได้น้อย
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักลด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
คันตามผิวหนัง เป็นแผลที่ผิวหนังบ่อย หายช้าและติดเชื้อง่าย
หิวบ่อย รับปประทานมาก
ภาวะกรดคีโตนคั่งในร่างกาย
คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง ถ่ายเหลว ขาดน้ำรุนแรง
หายใจหอบลึก จมีกลิ่นอะซีโตน คล้ายกลิ่นผลไม้สุก
กระหายน้ำมาก
ถ่ายปัสาวะบ่อย และมีปริมาณมาก
ภาวะแทรกซ้อน
หมดสติจากระดับน้ำตาลต่ำ
ภาวะเลือดเป็นกรด
ความต้านทานโรคต่ำ
บริเวณที่ฉีดอินซูลินบุ๋มจากการลีบหรือฝ่อของกล้ามเนื้อและไขมันบริเวณที่ฉีด
Diabetic neuropathy
Macroangiopathy
Microangiopathy
Type II diabetes mellitus
สาเหตุ
insulin resistance
ทำให้อินซูลินทำหน้าที่ลดน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี
ส่งผลให้น้ำตาลในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
พบปื้นดำหนาที่คอ รักแร้ ขาหนีบ
อ้วนหรือน้ำหนักเกิน
มีการติดเชื้อราร่วมด้วย เช่น ที่ช่องคลอด ผิวหนัง
ปัสสาวะมาก ดื่มน้ำมาก
การรักษา
ใช้ยา อินซูลิน และ Metformin
ติดตามการเปลี่ยนแปลงทุก 4 สัปดาห์
ปรับวิถีชีวิตด้วย อาหารสุขภาพ และการออกกำลังกาย
ให้การช่วยเหลือด้านจิตใจ การปรับตัว ครอบครัว เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้เรื่องเบาหวาน
Diabetes inspidus
สาเหตุ
Central diabetes insipidus
หลั่ง Antidiuretic hormone (ADH) หรือ Vasopressin ลดลง หรือไม่มีการหลั่ง
เช่น เนื้องอกบริเวณใกล้ต่อมใต้สมอง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Nephrogenic diabetes insipidus
ไตไม่ตอบสนองต่อ ADH
ไตจึงดูดกลับน้ำลดลง
เช่น กรวยไตอักเสบ โรคเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติของสมอง จะปวดศีรษะ ตามัว เดินเซ
เลี้ยงไม่โต น้ำหนักตัวเพิ่มช้า เติบโตช้า เด็กเล็กดื่มน้ำมากกว่านม
มีภาวะขาดน้ำ ปาก คอ และผิวหนังแห้ง ความยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี ในทารกพบกระหม่อมบุ๋ม อ่อนเพลีย ท้องผูก มีไข้
ดื่มน้ำมากและบ่อย ชอบดื่มน้ำเย็น
ปัสสาวะบ่อยและมากกว่า 4-10 ลิตร/วัน ปัสสาวะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ความถ่วงจำเพาะต่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
ชัก
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะขาดน้ำรุนแรง
ช็อก และหมดสติได้
Hyperthyroidism
สาเหตุ
ภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนสูงกว่าปกติที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กคือ โรคเกรฟ (Graves’ disease)
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นชีพจรเร็ว แม้แต่ในขณะหลับ pulse pressure กว้าง
หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย ตกใจง่าย นอนไม่หลับ ใน เด็กเล็กอาจปัสสาวะรดที่นอน ท้องเดิน มือสั่น การใช้มือหยิบจับของไม่มั่นคง
ผิวหนังมีสีชมพูเรื่อๆ ตัวอุ่น และเหงื่อออกตลอดเวลา ทนต่ออากาศร้อนไม่ได้ ทานอาหารได้มาก หิวเก่ง กินเก่ง น้ำหนักตัวลดลง อ่อนเพลียและกล้ามเนื้อไม่ค่อยมีแรง
ผมบางเปราะ แตกหักง่าย ผมร่วง เล็บบางหักง่าย
คอพอก ตาโปน
ภาวะแทรกซ้อน
ผื่นคันตามผิวหนัง
เม็ดเลือดขาวลดต่ำลงมาก ทำให้ติดเชื้อ
มีไข้ เจ็บคอ
Hypothyroidism
ภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
สาเหตุ
Primary hypothyroidism
Aplasia
ต่อมธัยรอยด์มีขนาดเล็กกว่าปกติ
มารดาเป็นโรคแพ้ภูมิตัวเอง
Autoantibody ผ่านรกเข้าไปทำลายต่อมธัยรอยด์ที่กำลังพัฒนาของทารกในครรภ์
Ectopic
ต่อมธัยรอยด์มีขนาดปกติแต่ผลิตและหลังฮอร์โมนได้น้อยกว่าปกติ
Secondary hypothyroidism
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
สมองส่วนไฮโปธารามัส (Hypothalamus)
การขาดฮอร์โมน กระตุ้นต่อมธัยรอยด์ (Thyroid stimulating hormone: TSH) หรือ TSH deficiency
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก เป็นหวัดเรื้อรัง น้ำมูกไหลหายใจ มีเสียงเสมหะครืดคราดอยู่ ตลอดเวลา กล่องเสียงบวม ร้องเสียงแหบ
ซึม เชื่องช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ไม่ค่อยร้อง นอนเก่ง Reflex ช้า
ปากกว้าง ลิ้นใหญ่คับปาก ดูดนมช้า ดูดได้น้อย ดูดนมแหวะนมง่าย สำลักนมง่ายช้า สำลักนมบ่อย ท้องผูก สะดือจุ่น น้ำลายไหลตลอดเวลา
หัวใจโต ชีพจรช้า หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำ เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่ดี ตัวเย็นกว่าปกติ ผิวหนังมีจ้ำๆ ลายๆ
กระหม่อมกว้างและปิดช้า หน้าผากย่น ชายผมต่ำ จมูกแฟบ ตาห่าง หน้าตาบวม คอสั้นหนา แขนขานิ้วมือนิ้วเท้าสั้น
ผมหยาบ เปราะร่วง ทำให้หน้าผากแคบ ขนดกและยาว ฟันเริ่มขึ้นช้า ไม่แข็งแรง ซี่เล็กผุหักง่าย เล็บบางเปราะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า แขนขาสั้น
การรักษา
Thyroxine ชนิดรับประทาน
ในรูป L-thyroxine (L-T4 หรือ Na-L-T4) ขนาด 10-15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน
ติดตามผู้ป่วยทุก 4-6 สัปดาห์ ใน 6 เดือนแรก
ทุก 2 เดือนใน 6-18 เดือนต่อมา
ติดตามการรักษา
ติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ติดตาม Thyroid function test
อายุกระดูกเป็นระยะๆ
ภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนที่เกิดขึ้นภายหลังเกิด
สาเหตุ
การขาดธาตุไอโอดีน
การได้รับยาหรือสารที่ขัดขวางการสร้างฮอร์โมนธัยรอยด์
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ Autoimmune thyroid disease
การขาดฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัยรอยด์ (TSH deficiency)
อาการและอาการแสดง
พูดช้าหรือพูดลำบากการพูดมีลักษณะลิ้นแข็ง ลิ้นพันกัน ออกเสียงไม่ชัดและไม่เต็มคำ
หัวใจเต้นช้า ชีพจรช้า ความดันโลหิตต่ำ
มีพัฒนาการทางเพศเข้าสู่วัยรุ่นช้า
ผิวหนังเย็นแห้งและซีด หนาวง่าย ผิวหนังมักจะเป็นจ้ำๆ ลายๆ
ฟันแท้ขึ้นช้ากว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง การทรงตัวไม่ดี เซื่องซึม อ่อนเพลีย ง่วงนอน เสียงแหบห้าว
การเจริญเติบโตล่าช้า อายุกระดูกช้ากว่าปกติ ตัวเตี้ย ลำตัวช่วงบนยาวกว่าช่วงล่าง
ผมหยาบแห้ง เปราะ แตกหรือร่วงง่าย เล็บขึ้นช้าบาง ฟันผุง่ายท้องป่อง ท้องผูก
การรักษา
ให้ Thyroxine ชนิดรับประทาน ในรูป L-thyroxine (L-T4 หรือ Na-L-T4) ปรับขนาดยาตามวัย