Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนการสอนหน่วยที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
แผนการสอนหน่วยที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
ความหมาย ความสำคัญของการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment) หมายถึง การรวบรวมมาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลอย่างเป็นระบบ โดยการประเมิน การตรวจสอบเพื่อทราบถึงภาวะสุขภาพ อันได้แก่ สุขภาพร่างกาย จิตใจ สังคม สิ่งแวดล้อมของบุคคลนั้นๆ
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyzing data)
ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ต้องให้ความสำคัญถึงลักษณะเฉพาะของวัยสูงอายุที่ปรากฏดังนี้
อัตราการเกิดความสูงอายุในคนแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกัน ในคนหนึ่งคน อวัยวะแต่ละอวัยวะก็มีอัตราการสูงอายุแตกต่างกัน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากความสูงอายุจึงไม่ได้ถูกกำหนดด้วยอายุขัย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายในวัยสูงอายุอาจท าให้ปัญหาสุขภาพบางอย่างถูกมองข้าม หรือเห็นว่าเป็นเรื่องปกติ อาการแสดงของโรค พยาธิสภาพบางอย่างไม่ปรากฏอาการชัดเจน หรือบางครั้งไม่แสดงอาการ อาการแสดงหรือการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากความสูงอายุบางอย่าง
ผู้สูงอายุเองบางครั้งละเลยไม่ได้สนใจสุขภาพ รวมทั้ง ประสบการณ์การรับบริการทางลบทำให้ผู้สูงอายุกลัวที่จะขอรับบริการทางสุขภาพ
ผู้สูงอายุมักมีการใช้ยาหลายชนิดมากกว่าคนหนุ่มสาว และยาที่หลากหลายนั้นอาจมีผลต่อการทำหน้าที่ของสภาวะทางจิต (mental status)
วิธีการประเมินสภาพผู้สูงอายุ
1) การประเมินสุขภาพทางกาย (Physical Assessment)การประเมินสุขภาพทางกายของผู้สูงอายุ ได้แก่ การซักประวัติ/การตรวจร่างกาย (Physical examination) โรคหรือปัญหาที่พบโดยดูจากประวัติการเจ็บป่วย อาการสำคัญ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี/การตรวจพิเศษ ยาที่ใช้อยู่
2) การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ (Functional Ability Assessment)การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ เป็นการวัดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของผู้สูงอายุ ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยไม่ต้องพึ่งพา
2.2 ดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index)
2.3 Instrumental Activities of Daily Living (IADL)
2.1 ดัชนีบาร์เทลเอดีแอล (Barthel ADL Index)
2.4 Direct Assessment of Function Status Scale
3) การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
3.1 การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment) โดยการซักประวัติอาหาร
3.2 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (anthropometric assessment) ประกอบด้วย ส่วนสูง น้ำหนัก การวัดส่วนรอบวงอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย (body circumferences)
3.2.1 น้ำหนักตัวและส่วนสูง แล้วนำมาคำนวณหาค่าดัชนีความหนาของร่างกาย (body
3.2.2 การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง (skinfold thickness) การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนังบริเวณกล้ามเนื้อไตรเซป (tricep) และบริเวณใต้กระดูกสะบัก (subscapular)
3.2.3 การวัดเส้นรอบวงของอวัยวะต่างๆของร่างกาย (body
circumferences) ประกอบด้วย
2) การวัดเส้นรอบแขน (midarm circumferences) เป็นดัชนีที่บ่งชี้ภาวะโปรตีนของร่างกาย
3) การวัดเส้นรอบเอวและสะโพกเป็นดัชนีวัดรูปแบบการกระจายเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย
1) การวัดเส้นรอบวงของน่อง (calf circumferences) เป็นดัชนีที่ใช้วัด
ภาวะการสูญเสียปริมาณของกล้ามเนื้อจากการทำกิจกรรมของร่างกายลดลง
3.3 การประเมินภาวะโภชนาการ Mini Nutritional Assessment (MNA) เป็นเครื่องมือที่มีความถูกต้องมีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้เป็นเครื่องมือที่ง่ายและรวดเร็วกับการประเมินภาวะโภชนาการใน
ผู้สูงอายุ
4) การประเมินสุขภาพจิต (Psychological Health
Assessment)
4.1 การประเมินภาวะซึมเศร้า (Depression) ใช้เครื่องมือประเมิน
2) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุไทย (TGDS / The GeriatricDepression Scale)
3) Beck Depression Inventory (BDI)
1) Geriatric Depress Scale (GDS)
4.2 การประเมินเชาว์ปัญญา (Cognitive function) ใช้เครื่องมือประเมิน
1) Mini-Mental State Exam (MMSE)
2) Thai-MiniMental State Exame (TMSE)
3) แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา (CDT / Clock Drawing Test)
4) แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (Chula Mental Test)
5) การประเมินทางสังคม (Social Functioning Assessment)
เศรษฐานะ (Economy Structure)
สายสัมพันธ์ทางสังคม
(Social Interaction network)
ลักษณะครอบครัว (Family Structure)
ความเชื่อทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ (Religions & Spiritual beliefs)
สัมพันธภาพในครอบครัว (Family Relationship)
ระดับการศึกษา พฤติกรรม ความเชื่อทางสุขภาพ
6) การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment)
6.1 แบบประเมินบ้าน (Home Safety Checklist)
6.2 แบบประเมินการพลัดตกหกล้ม (Risk fall in Hospital)
แนวทางการประเมินสภาพตามแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 5 ด้านการพักผ่อนนอนหลับ (Sleep-Rest Pattern)
แบบแผนที่ 6 ด้านสติปัญญาและการรับรู้ (Cognitive – Perceptual)
แบบแผนที่ 4 ด้านการมีกิจกรรมและการออกก าลังกาย (Activity Exercise Pattern)
แบบแผนที่ 7 ด้านการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self-Perception-Self-Concept Pattern)
แบบแผนที่ 3 ด้านการขับถ่าย (Elimination Pattern)
แบบแผนที่ 8 ด้านบทบาทและสัมพันธภาพ (Role-Relationship)
แบบแผนที่ 2 ด้านภาวะโภชนาการและการเมตาบอลิซึม (Nutritional-Metabolic Pattern)
แบบแผนที่ 9 ด้านเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality-Reproductive)
แบบแผนที่ 1 การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health Perception-HealthManagement Pattern)
แบบแผนที่ 10 ด้านการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด (Coping-Stress Tolerance Pattern)
แบบแผนที่ 11. แบบแผนด้านการมีคุณค่าและความเชื่อ (Value-Belief Pattern)
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพผู้สูงอายุ
เครื่องมือประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ
A. ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL Index)
Grooming (ล้างหน้า, หวีผม, แปรงฟัน, โกนหนวด ในระยะ 24-48 ชั่วโมงที่ผ่านมา)
ต้องการความช่วยเหลือ
ทำได้เอง (รวมทั้งที่ทำได้เองถ้าเตรียมอุปกรณ์ไว้ให้)
Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปยังเก้าอี้)
ต้องการความช่วยเหลืออย่างมากจึงจะนั่งได้ เช่น ต้องใช้คนที่แข็งแรงหรือมีทักษะ 1 คน หรือใช้คนทั่วไป 2 คนพยุงหรือดันขึ้นมาจึงจะนั่งได้
ต้องการความช่วยเหลือบ้าง เช่น บอกให้ทำตาม หรือช่วยพยุงเล็กน้อย หรือต้องมีคนดูแลเพื่อความปลอดภัย
ไม่สามารถนั่งได้ (นั่งแล้วจะล้มเสมอ) หรือต้องใช้คนสองคนช่วยกันยกขึ้น
ทำได้เอง
Feeding (รับประทานอาหารเมื่อเตรียมสำรับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า)
ตักอาหารเองได้ แต่ต้องมีคนช่วย เช่น ช่วยใช้ช้อนตักเตรียมไว้ให้ หรือตัดให้เป็นชิ้นเล็กๆ ไว้ล่วงหน้า
ตักอาหารและช่วยตัวเองได้เป็นปกติ
ไม่สามารถตักอาหารเข้าปากได้ ต้องมีคนป้อนให้
Toilet use
ทำเองได้บ้าง (อย่างน้อยทำความสะอาดตัวเองได้หลังจากเสร็จธุระ) แต่ต้องการความช่วยเหลือในบางสิ่ง
ช่วยตัวเองได้ดี (ขึ้นนั่งและลงจากโถส้วมได้เอง, ทำความสะอาดได้เรียบร้อยหลังจากเสร็จธุระ, ถอดใส่เสื้อผ้าได้เรียบร้อย)
ช่วยตัวเองไม่ได้
Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้าน)
ต้องใช้รถเข็นช่วยตัวเองให้เคลื่อนที่ได้เอง (ไม่ต้องมีคนเข็นให้) และจะต้องเข้าออกมุมห้องหรือประตูได้
เดินหรือเคลื่อนที่โดยมีคนช่วย เช่น พยุง หรือบอกให้ทำตาม หรือต้องให้ความสนใจดูแลเพื่อความปลอดภัย
เคลื่อนที่ไปไหนไม่ได้
เดินหรือเคลื่อนที่ได้เอง
Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า)
ช่วยตัวเองได้ราวร้อยละ 50 ที่เหลือต้องมีคนช่วย
ช่วยตัวเองได้ดี (รวมทั้งการติดกระดุม รูดซิบ หรือใช้เสื้อผ้าที่ดัดแปลงให้เหมาะสมก็ได้)
ต้องมีคนสวมใส่ให้ ช่วยตัวเองแทนไม่ได้หรือได้น้อย
Stairs (การขึ้นลงบันได 1 ขั้น)
ต้องการคนช่วย
ขึ้นลงได้เอง (ถ้าต้องใช้เครื่องช่วยเดิน เช่น walker จะต้องเอาขึ้นลงได้ด้วย)
ไม่สามารถทำได้
Bathing (การอาบน้ำ)
ต้องมีคนช่วยหรือทำให้
อาบน้ำเองได้
Bowels (การกลั้นการถ่ายอุจจาระในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา)
กลั้นไม่ได้เป็นบางครั้ง (เป็นน้อยกว่า 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์)
กลั้นได้เป็นปกติ
กลั้นไม่ได้ หรือต้องการการสวนอุจจาระอยู่เสมอ
Bladder (การกลั้นปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา)
กลั้นไม่ได้ หรือใส่สายสวนปัสสาวะแต่ไม่สามารถดูแลเองได้
กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกว่าวันละ 1 ครั้ง)
กลั้นได้เป็นปกติ
B. แบบประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติขึ้นสูง (Instrument Activities daily Living Index)
ท่านสามารถใช้โทรศัพท์ได้เองหรือไม
ทำได้ถ้ามีคนช่วย (สามารถพูดโทรศัพท์ได้หรือเรียกโอเปอเรเตอร์ในกรณีฉุกเฉิน)
ทำได้โดยไม่ต้องมีใครช่วย (ถ้าต้องใช้เครื่องช่วยเดิน เช่น walker จะต้องเอาขึ้นลงได้ด้วย)
ไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้เลย
ไม่ตอบ (ไม่มีโทรศัพท์)
ท่านสามารถไปไหนมาไหนโดยใช้หรือไม่ใช้ยานพาหนะ
ทำได้ถ้ามีคนช่วย (ต้องมีคนช่วยเหลือหรือเดินทางไปกับท่าน)
ทำได้โดยไม่ต้องมีใครช่วย
ท่านไม่สามารถเดินทางไปไหนมาไหนได้
ท่านสามารถเลือกซื้ออาหารหรือเสื้อผ้าในร้านค้าหรือร้านขายของชำได้หรือไม
ทำได้โดยต้องมีคนช่วยเหลือ
ทำได้โดยไม่ต้องมีคนช่วยเหลือ
ไม่สามารถซื้อของได้เองเลย
ท่านหุงหา / อุ่นอาหารได้เองหรือไม
ทำได้โดยต้องมีคนช่วยเหลือ
ทำได้โดยไม่ต้องมีคนช่วยเหลือ
ไม่สามารถเตรียมอาหารได้เลย
ท่านจัดการเรื่องเงินหรือใช้จ่ายเงินที่ลูกหลานให้ได้หรือไม
ทำได้โดยต้องมีคนช่วย (สามารถจัดการเรื่องซื้อวันต่อวันได้แต่ต้องมีคนช่วย-จัดการเรื่องชำระเงินให้ท่าน)
ทำได้โดยไม่ต้องมีคนช่วยเหลือ (จ่ายเงินสดได้ด้วยตัวเอง)
ไม่สามารถจัดการเรื่องเงินทองได้เลย
ท่านสามารถทำความสะอาดบ้านได้ด้วยตนเองหรือไม่
ต้องมีคนช่วยบางส่วน
ทำด้วยตนเองได้ทั้งหมด
ทำไม่ได้เลยต้องมีผู้อื่นทำให้ทั้งหมด
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น (ฉบับภาษาไทย)
Mini – Mental State Examination – Thai Version (MMSE – T)
Orientation for place
Registration
Orientation for time
Attention/Calculation
Recall
Naming
Repetition
Verbal command
Written command
Writing
Visuoconstruction
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา (CDT / Clock Drawing Test)
เตรียมกระดาษที่มีวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. พร้อมดินสอหรือปากกาบอกผู้สูงอายุ “ให้วาดรูปนาฬิกาโดยให้เขียนเลขให้ถูกต้อง และใส่เข็มสั้น-เข็มยาว โดยให้ชี้บอกเวลา 11 โมง 10 นาที
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
Thai Geriatric Depression Scale : TGDS
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
Mini Nutritional Assessment (MNA)
แบบประเมินบ้าน (Home Safety Checklist)
Outside Checklist
Barrier-Free Checklist
Lighting Checklist
Minimal Effort Test
Color Contrasting Test
เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม Hendrich II Fall Risk Model 2002
แบบประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนในการทำหน้าที่ด้านสุขภาพของกอร์ดอน