Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Electronic fetal monitoring ( EFM ), นางสาวณัฐพร คำแก้ว เลขที่ 17 รหัส…
Electronic fetal monitoring ( EFM )
ANTEPARTUM
Non stress Test(NST)
ถ้าทารกไม่มีปฏิกริยาตอบสนอง
ทารกอาจหลับ 20นาที ติดเครื่อง 40-60 นาที
ปลุกให้ตื่น
Fetal hypoxemia/acidemia
Fetal cardiac/neurological anomaly
ยาบางชนิด nacotics, propanolol, phenobarbital,
smoking
Fetal Acoustic Stimulation Test (FAST) เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
สั่น 3 วิ ต้องกระตุ้นซ้ำจนถึง 3 นาที ทำ 2-3 ครั้ง
true reactive ทารกปกติดี โอกาสผิดพลาดน้อย non reactive ทารกปกติ แต่มีโอกาสผิดปกติ ต้องตรวจซ้ำตรวจหลายแบบ
ถ้า ผิดปกติ ติดซ้ำ 30นาที กระตุ้น ด้วย FAST ทำ BPP
Low risk 32-34 wks High risk : 26-28 wks ติดเครื่อง 1 ครั้ง หลังติดเครือง 1 wk ทารกจะไม่มีปัญหา
Contraction Stress Test(CST)
การทดสอบที่ให้ให้เกิด contraction กระตุ้นหัวนม 2 นาที ให้เกิดท้องปั้น
ให้ oxytocin ให้มีcontraction ทุก 3 นาที
Positive: late Deceleration > 50 percent of contraction
(even contraction < 3 times in 10 min)
Negative ปกติ
Equivocal แบบผลออกมาแบบไม่ชัดเจน
Unsastisfactory contraction น้อยกว่า 3 ครั้งใน 10 นาที
INTRAPARTUM
IPM
Baseline FHR: 110–160 bpm
Variability: moderate(6-25 bpm)
Periodic changes
Accelerations มีไม่มีก็ได้ แต่ Variability ปกติ
Early decelerations drop ได้ถือว่าได้
ไม่มี late or variable decelerations จากสายสะดือถูกกด
Cat l ปกติ
cat ll
monitor ผิดปกติ
กระตุ้นหนังศีรษะทารก ให้เจ็บนิดหนึ่ง ดูการตอบสนอง ให้ o2 ให้ IVหยุด cinto น้ำคร่ำน้อย (พิจารณาเติมน้ำคร่ำ)หาสาเหตุ (ถ้าเป็นกับทารกเองมีการเจริญผิดปกติ พิจารณาให้คลอดเลย) ยาบางชนิด (อาจจะพิจารณาหยุดยาได้) catll—>catlll–>พิจารณาให้คลอดเลย
cat lll
ทารกแย่จะเสียชีวิต
bsent baseline
– Recurrent* late decelerations
– Recurrent* variable decelerations
ส่วนใหญ่ ทารกจะเป็น fetal anemia, fetal severe hypoxia,
anencephaly
ต้องรีบช่วยชีวิต
การดูแล ใ้ห้ O2 10 lpm ให้อนตะแคงซ้าย/ขวาก็ได้ ให้ HR ขึ้น กระตุ้น ที่หนังศีรษะทารก ถ้าไม่มิ acceleration ต้อง c/s ทันที ถ้ายังสามารถมีชีวิต ถ้าเสียชีวิตก็ไม่ต้อง c/s ให้นอนคว่ำ ตั้งเข่าสูง ให้ Iv rat 120-160
Variability
Moderate variability 6-25 bpm ปกติ
Minimal or absent variability 0-5 bpm เสี่ยงพร่อง o2
Marked variability >25 มีการตอบสนองดี
Baseline FHR
ติดอย่างน้อย 10 นาที หาเส้นอยู่นิ่งๆ 2 นาที
Normal 110-160 bpm
Bradycardia < 110 bpm
Tachycardia > 160 bpm
Fetal bradycardia
เกิดจาก แม่กิน beta-blocker therapy,เป็นโรค hypothermia,
hypoglycemia, hypothyroidism, fetal heart block
Fetal tachycardia
เกิดจากแม่เป็นไข้ การติดเชื้อ หรือได้รับยา หรือเป็นโรค hyperthyroidism, elevated catecholamines, fetal anemia, arrhythmia
Periodic changes
Acceleration
มากกว่า 32 ขึ้น 15 นาน15 วิ
น้อยกว่า 32 ขึ้น 10 นาน10 วิ
Deceleration
Early deceleration
หัวเคลื่อนต่ำ FHR ต่ำลง สัมพันธ์ contraction
contraction แรง กดหนัก
contraction คลาย กดเบา
Late deceleration
ขาด O2 ชั่วคราวจากรกไม่ดี มดลูกคลาย FHR สูง
Variable deceleration
สัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์ contraction ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ Cord compression ทากหยับกดเบียดสายสะดือ FHR ต่ำ baseline 15 bpm นาน15 วิ
Prolonged deceleration
drop > 2 นาที
Lasting > 2 min but <10 min
Prolonged deceleration > 10 min → change in baseline
มากกว่า 2 min Prolonged acceleration
มากกว่า 10 min Baseline FHR change
นางสาวณัฐพร คำแก้ว เลขที่ 17 รหัส 61128301018