Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร - Coggle Diagram
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
โภชนาการของหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
ความต้องการ วิตามินและแร่ธาตุบางชนิดเพิ่มขึ้น
เช่น วิตามินตา วิตามินซี วิตามินบี6 โฟเลม
แร่ธาตุในมวลกระดูกลดลง
เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส
การหลั่งน้ำนมของแม่จะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับ
ควรให้นมลูกทุกๆ 2 ถึง 3 ซม.
การทำงานหนัก เหนื่อย หรืออดนิน
อารมณ์ ความวิตกกังวล
ความสุข ความรักจะกระตุ้นให้น้ำนมออกมามาก
ชนิดของน้ำนมแม่หลังคลอด
น้ำนมเหลือง
เป็นน้ำนมที่ออกมาในช่วง 2-4วันหลังคลอด
น้ำนมระยะปรับเปลี่ยน
เป็นน้ำนมที่ออกมาในช่วง 7-10 วันหลังคลอด
ไปจนถึง 2 สัปดาห์หลังคลอด
น้ำนมแท้
เป็นน้ำนมที่ออกในวันที่ 10 หลังคลอดไปจนถึง 2 สัปดาห์หลังคลอดเป็นต้นไป
ข้อดีของการให้ลูกดูดนมมารดา
กระตุ้นให้มีการหดรักตัวของมดลูก ทำให้มดลูดเข้าอู่เร็ว
ลดความเสี่ยงการเป็นมะเร็งเต้านม
ความต้องการสารอาารในระยะให้นมบุตร
พลังงาน
คาร์โบไอเดรต โปรตีน และไขมัน
ต้องใช้พลังงานประมาณ 85 Kcal ต่อน้ำนม 100 มล.
ควรได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500 Kcal (2,250 Kcal/วัน)
โปรตีน
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้น 25 กรัม/วัน
ควรเลือกโปรตีนคุณภาพดี ไขมันต่ำ
แคลเซียม
ควรได้รับแคลเซียม 1;200 มก. ต่อวัน
ธาตุเหล็ก
ต้องการอาหารจากเหล็กวันละ 15 มก.
ไอโอดีน
เพิ่มจากปกติอีกวันละ 50 ไมโครกรัม
วิตามินชนิดต่างๆ
วิตามินเอ
เพิ่มอีกวันละ 375 ไมโครกรัม
วิตามินดี
ควรได้รับในปริมาณที่ปกติเท่ากับก่อนตั้งครรภ์
วิตามินบี1
เพิ่มอีก 0.3 มก.
วิตามินบี2
เพิ่มอีก 0.5 มก.
วิตามินซี
เพิ่มอีกวันละ 35 มก.
โฟเลท
วันละ 500 ไมโครกรัม
น้ำ
วันละ 8-10 แก้ว
ปัญหาโภชนาการในหญิงให้นมบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง
ความยากจน
นิสัยการบริโภคไม่ดี
ขาดความรู้ด้านโภชนาการ
โภชนาการสำหรับวัยทารก
แรกเกิด - 6 เดือน ทารกได้พลังงาน
และสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
หลังจาก 6 เดือนไปจนถึงขวบปีแรกทารกจะได้รับพลังงาน
และสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนมแม่
การเลือกอาหารสำหรับทารก
ข้าว เนื้อ สัตว์ ปลา ตับ ไข่ ผักและผลไม้เป็นประจำทุกวัน
กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิด
ผักกาดขาว ฟักทอง
กินเนื้อสัตว์ทุกวัน
หมู ไก่ ปลาและตับ
ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี
ควรเสริมด้วยนมวัวรสจืด วันละ 2 แก้ว
ใช้น้ำมะนพืชในการประกอบอาหาร
น้ำมันรำข้าว และน้ำมันถั่วเหลือง
ให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งรสอาหารด้วยน้ำตาล
น้ำผึ้ง ผงชูรส และผงปรังรส
เลือกอาหารที่มีคุณภาพ
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
เด็กอายุ 1 ขวบขึ้นไป จนถึง อายุ 6 ขวบ
รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่าง
ระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
หาเทคนิคให้เด็กรับประทนาอาหารให้ครบ 5 หมู่
พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีในการบริโภค
โดยการกินอาหารที่มีคุณค่า
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
เด็กที่มีอายุ ตั้งแต่ 7-12 ปี
เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากเด็กวัยก่อนเรียน
จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในแต่ละวัน
ให้เด็กเสนอเมนูอาหาร
ฝึกวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
ต่อมไร้ท่อต่างๆ สร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ มากขึ้น
กระดูกขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้ต้องการสารอาหารมากขึ้น
วัยรุ่นจะรู้สึกหิวบ่อยและรับประทานมากขึ้น
วัยรุ่นชายจะรับประทานอาหารมากกว่าวัยรุ่นหญิง