Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system), unnamed (1), heart -…
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
(Cardiovascular system)
หัวใจ (Heart) :<3:
โครงสร้างของหัวใจ :<3: ผนังของหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยื่อสามชั้น
Epicardium (เยื่อหุ้มหัวใจชั้นใน)
Myocardium (กล้ามเนื้อหัวใจ)
Endocardium (เยื่อบุหัวใจ)
ที่ตั้งหัวใจทางด้านบนตั้งอยู่บริเวณซี่โครง Rib อันที่ 2
ส่วนปลายเรียกว่าเอเป๊กซ์ (Apex)จะชี้ลงร่างไปทางด้านซ้ายตั้งอยู่บริเวณระดับแนวเส้นที่ลากจากกึ่งกลางของกระดูกไหปลาร้าถึงช่องระหว่างซี่โครงอันที่ 5 และ
หัวใจอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้งสองข้าง
โดย 2 ใน 3 ส่วนของหัวใจจะอยู่ด้านซ้าย
หัวใจมีน้ำหนักประมาณ300 กรัม
หัวใจห้องบนขวา (Right atrium)
มีหน้าที่รับเลือดที่มาจากหลอดเลือดดำใหญ่
• ซุพีเรียเวนาคาวา (superior vena cava) ซึ่งรับเลือดมาจากร่างกายส่วนบนและ
• อินฟีเรียร์เวนาคาวา (Inferior vena cava)รับเลือดมาจากร่างกายช่วงล่าง
• เลือดจากหัวใจห้องบนขวาจะไหลเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา ผ่านทางลิ้นหัวใจไทรคัสปิด(Tricuspid valve)
หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle)
หน้าที่รับเลือดจากหัวใจห้องบนขวาแล้วส่งออกไปยังปอดผ่านลิ้นหัวใจพัลโมนารี และหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
ที่ผนังของหัวใจจะมีแนวของกล้ามเนื้อหัวใจที่สานต่อกันและมีเอ็นเล็กๆเรียกว่า คอร์ดี เท็นดินี ทำหน้าที่ยึดลิ้นหัวใจไทรคัสปิดไม่ให้ตลบขึ้นไปทางหัวใจห้องบนขวาระหว่างการบีบตัวของหัวใจห้องล่างดังนั้นจึงป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
หัวใจห้องบนซ้ำย (Left atrium)
หัวใจห้องใดจะรับเลือดที่ได้รับออกซิเจนผ่านปลอดภันทางหลอดเลือดดำพัลโมนารี (Pulmonary veins)ส่งเลือดผ่านให้หัวใจห้องล่างซ้ายทางลิ้นไหมคะ (mitral valve)
:
หัวใจห้องล่างซ้าย (Left ventricle)
ทำหน้าที่หลักในการฉีดเลือดไปทั่วร่างกายผ่านทางลิ้นหัวใจเอออร์ติก (Aortic valve) lและหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ต้า (Aorta)
สรีรวิทยาของหัวใจ (Physiology of the Heart)
1.สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจเพื่อไปเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อตามส่วนต่างๆของร่างกายโดยการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายซึ่งเรียกระยะของการบีบตัวนี้ว่าชีสโตล (Systole)ผ่านเส้นเลือดแดงใหญ่ เอออร์ต้า(aorta)
2.รับเลือดจากเซลล์และเนื้อเยื่อที่ใช้แล้วกลับสู่หัวใจห้องบนขวาเพื่อไปสู่หัวใจห้องล่างซ้ายแล้วสูบฉีดเพื่อไปฟอกที่ไต(แลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจน)
การทำงานของหัวใจมีอิทธิพลมาจากปัจจัย 3 ประการ คือ
การควบคุมจากระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System) ประกอบด้วย
1 .1 ประสาทซิมพาเทติด (Sympathetic) มีบทบาทควบคุมการเต้นของหัวใจให้เร็วและแรงขึ้น
1.2 ประสาทพาราซิมหาเทติด (parasympathetic) มีบทบาทควบคุมการเต้นของ
หัวใจให้เต้นช้ำและเบาลง
การควบคุมจากระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) โดยต่อมหมวกไตชั้นในผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ 2 ชนิด คืออีพิเนฟริน (Epinephrine) หรืออะดรีนำลิน (Adrenalin) กับนอร์อีพิเนฟริน (Nor -Epinephrine) หรือ นอร์ อะดรีนาลิน (Nor - Adrenalin)มีบทบาทควบคุมการเต้นของหัวใจให้เร็วและแรงขึ้น
เหมือนกับประสาทซิมพาเทติด
การควบคุมจากหัวใจเอง ถ้าเลือดไหลกลับสู่หัวใจมาก หัวใจก็จะบีบเลือดออกจากหัวใจมาก
อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart Rate)
เกิดจากการหดตัวของผนังห้องหัวใจ และการปิดเปิดลิ้นหัวใจเพื่อสูบฉีดเลือด ถ้าใช้Stethoscope ฟังจะได้ยินเสียงของหัวใจดัง "ลับ - ดุบ“ (Lub - Dub)
หน้าที่ของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ขนส่งออกชิเจนและอาหารไปให้เซลล์ทั่วร่างกาย นำคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียจำกเซลล์ไปขับทิ้งยังปัสสาวะขับถ่าย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลของกรด- ด่างภายในร่างกาย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลของอุณหภูมิในร่างกาย
4.ช่วยทำลายเชื้อโรคและป้องกันเชื้อโรค โดยการสร้างภมูิคุ้มกัน(Antibodies)ให้แก่ร่างกาย
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอนไซม์ไปให้เซลล์เพื่อให้อวัยวะมีการทำงานตามปกติ
6.ป้องกันเลือดไหลไม่หยุดโดยการเกิดลิ่มเลือดอุดบาดแผล
Blood vessels (หลอดเลือด)
Vein / Veins (หลอดเลือดดำ
Artery / Arteries (หลอดเลือดแดง)
Capillary / Capillaries (หลอดเลือดฝอย)
Superior vena cava ซุพีเรียเวนาคาวา
(หลอดเลือดเวนำคำวำด้านบน)
Inferior vena cava อินฟีเรียเวนาคาวา
(หลอดเลือดเวนาคาวาด้านล่าง
Aorta (หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตำ)
Blood (เลือด)
เลือดมีคุณสมบัติเป็นเนื้อเยื่อชนิดหนึ่ง
ทำหน้าที่เป็นตัวกลางติดต่อกับเชลล์ทั่วร่างกายในระบบไหลเวียน
มีความเป็นด่างเล็กน้อย คือ มีค่า PH ระหว่ำง 7.35 - 7.45
มีความหนืด (Viscosity) มากกว่าน้ำ 5เท่า
ปริมาณเลือดในร่างกายประมาณ 7-8 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักร่างกายโดยคิดประมาณเลือดเป็นลิตรและน้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม
หน้าที่
1.เลือดทำหน้าที่ขนส่ง o2 , co2 สารอาหารของเสียงฮอร์โมนและความร้อน
2.ช่วยปกป้องร่างกายโดยสร้างแอนติบอดี้(antibodies)เม็ดเลือดขาว(leukocytes)เกล็ดเลือด(Platelets)
3.มีบทบาทในการอักเสบ
4.ช่วยคงสมดุลของร่างกายและความเป็นกรดด่างของร่างกาย
เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte)
เม็ดเลือดแดงมีลักษณะรูปกลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 7 - 8 ไมครอน และ หนาประมาณ 1 - 2 ไมครอน
มีลักษณะยึดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ จึงสามารถผ่านหลอดเลือดฝอยได้
มีสารประกอบของโปรตีน เรียกว่า ฮีโมโกลบิน(Hemoglobin) ซึ่งมีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
เม็ดเลือดขาวถูกสร้างขึ้นมาตลอดเวลาจากไขกระดูกต่อมน้ำเหลืองน้ำและต่อมโทมัส
เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่ทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายดังนั้นเมื่อมีอาการติดเชื้อเกิดขึ้นก็จะทำให้เม็ดเลือดเพิ่มจำนวนมากกว่าปกติ
เม็ดเลือดขาวชนิดที่มีแกรนูล เรียกว่าแกรนูลไลไซท์
1.นิวโตรฟิล (Neutrophil)เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีจำนวนมากที่สุดคือ 60% มีหน้าที่ทำลายเชื้อแบคทีเรีย
2.อิโอซีโนฟิล(eosinophil) ประมาณ 2 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์มีหน้าที่ทำลายเชื้อโรคที่ผ่านทางหลอดเลือดและท่อทางเดินอาหาร
3.เบโซฟิล (Basophil) เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีจำนวนน้อยที่สุดประมาณ 0.5 ถึง 1 เปอร์เซ็นต์มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาตอบสนองต่อการอักเสบ
เม็ดเลือดขาวชนิดที่ไม่มีแกรนูลเรียกว่าอะแกรลูโลไซท์
1.ลิมโพไซท์(lymphocyte) มีประมาณ 20 -30 %มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองในระบบภูมิคุ้มกัน
2.โมโนไซท์(monocyte) เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดมีประมาณ 4-7 %
เกล็ดเลือด (Blood Platelet หรือ Thrombocyte)
เกล็ดเลือดมีขนาดเล็กไม่มีสีไม่มีนิวเคลียร์โดยปกติมีประมาณ250,000 -
300,000 ต่อ1ลบ.มม
มีอายุ 2-3วันเกร็ดเลือดถูกสร้างขึ้นในไขกระดูกแดงจากเซลล์ที่เรียกว่าmegakaryocytes ถูกทำลายที่ม้าม
เกร็ดเลือดมีหน้าที่สำคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือดเมื่อมีหลอดเลือดถูกทำลายเกล็ดเลือดบริเวณนั้นจะรวมตัวกันเป็นก้อนและอุดตรงบริเวณหลอดเลือดที่ถูกทำลายเพื่อป้องกันไม่ให้เลือดไหลออกมาภายนอก
พลาสมา (Plasma)
พลาสมาเป็นส่วนประกอบของเลือดที่นอกเหนือจากเม็ดแรกมีลักษณะเป็นน้ำหรือของเหลวมีสีเหลืองใสมีกรดเป็นด่างเล็กน้อย คือมีค่า pH ประมาณ 7.35 - 7.45
พลาสมามีหน้าที่สำคัญ คือ
ช่วยในการแข็งตัวของเลือดเพราะมี Fibrinogen
ทำให้เลือดมีความหนืด
3.ช่วยทำให้เกิดแรงดันออสโมติสซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการดูดน้ำไว้ในเส้นเลือด
4.ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคฮอร์โมนและเอนไซม์ต่างๆ