Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์, นางสาวณิชกานต์ สารอินสี เลขที่ 27…
ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
Hyperemesis gravidarumหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
สาเหตุ
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน เช่น Estrogen, Human chorionic gonadotrophin (HCG) ที่มีปริมาณมากเกินไป
สาเหตุจากด้านจิตใจ เช่น มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย (Ambivalance) มีความ ยุ่งยากในบทบาทการเป็นมารดา และการปรับตัวกับแบบแผนการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
สาเหตุส่งเสริม
ตับอักเสบ
โรคเกี่ยวกับท่อทางเดินนํ้าดี
การหลั่ง Hydrocholic acid ในกระเพาะอาหารลดลง
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง
ความเป็นพิษของยา
การอักเสบของลำไส้
การขาดวิตามิน โดยเฉพาะวิตามิน บี 6
ภาวะ Transient hyperthyroid
อาการ
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้งต่อวัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีนํ้าหรือเศษอาหาร
นํ้าหนักตัวลดเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกัน 5-10 ครั้งต่อวัน
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด (Acidosis)
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้งต่อวัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาเจียนทันทีภายหลังรับประทาน และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
อ่อนเพลีย ซูบผอม น้ำหนักตัวลดมาก
เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ้นเป็นฝ้าขาว หนา แตก
ตาลึก ขุ่น มองภาพไม่ชัดเจน
ปัสสาวะขุ่น และออกน้อย
ตัวเหลือง ท้องผูก มีไข้ ความดันโลหิตลดลง
ผลการทบ
มารดา
ภาวะ Dehydration อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็ว และความดันโลหิตตํ่า ผิวหนังแห้ง ความตึงตัวของผิวหนังไม่ดี อ่อนเพลีย ปัสสาวะออกน้อยและขุ่น
ภาวะ Electrolye imbalance เช่น กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง
ภาวะ Ketoacidosis การสูญเสียด่างในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน ส่งผลต่อระบบสมอง ส่วนกลาง หายใจหอบเหนื่อย ซึม กระสับกระส่าย เพ้อจำไม่ได้ หมดสติ
ภาวะขาดสารอาหารอย่างรุนแรง และขาดวิตามิน การขาดวิตามินซีและวิตามินบีรวม
ทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกพิการ เนื่องจากขาดสารอาหารที่จะช่วยสร้างการเจริญเติบโต และพัฒนาอวัยวะต่างๆ ของทารกในครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเสียชีวิต
การป้องกัน
รับประทานอาหารน้อยแต่บ่อยครั้งประมาณทุก 2-3 ชั่วโมง
รับประทานอาหารโปรตีนที่มีไขมันน้อย เช่น เนื้อปลา เนื้อสัน และอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรทที่ง่ายต่อการย่อย เช่นข้าวขนมปัง ผลไม้น้ำผลไม้อาหารที่มีวิตามินบี
ดื่มนํ้าซุปหรือน้ำผลไม้ระหว่างมื้ออาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน หรืออาการที่มีน้ำมันมาก
หลังรับประมาณไม่ควรเอนหลับทันที ควรลุกทำกิจกรรมต่างๆ
รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ก่อนเข้านอนหรือระหว่างกลางคืน เช่น ผลไม้โยเกิร์ต นมเปรี้ยว ขนมปัง
หลังตื่นนอนตอนเช้า ถ้ามีอาการคลื่นไล้ ควรรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายทันที เช่น ขนมปังกรอบ ข้าวต้ม โจ๊ก
ควรนอนหลับและพักผ่อนอย่างเพียงพอ การตื่นนอนตอนเช้าควรค่อยๆ ลุกจากเตียงไม่ควรลุกขึ้นทันทีทันใด
Amniotic fluid น้ำคร่ำ
Oligohydramnios ภาวะน้ำคร่ำน้อย
สาเหตุ
ด้านทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ ท้าให้ปัสสาวะออกน้อยผิดปกติ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายในครรภ์
ความผิดปกติของรก
ทารกแฝดที่มีภาวะ twin- twin transfusion syndrome
ด้านมารดา
การแตกของถุงน้้าคร่้าเป็นระยะเวลานาน
การตั้งครรภ์เกินก้าหนด
ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
การใช้ยาในขณะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ คล้าส่วนของทารกได้ชัดเจน
สตรีตั้งครรภ์รู้สึกว่าทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ เนื่องจากมดลูกถูกบีบรัด
ภาวะที่มีปริมาณน้้าคร่้าน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร
มีค่า Amniotic Fluid Index (AFI) < 5-8 cm.
การตรวจด้วยคลื่นเสียงสูง พบว่า Sigle Deepest Pocket (SDP) < 2 cm.
Polyhydramniosภาวะตั้งครรภ์ที่มีจำนวนน้ำคร่ำมาก
ครรภ์แฝดน้ำหรือครรภ์มานน้ำ (hydramniosหรือ polyhydramnios) หมายถึง ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจำนวนน้ำคร่ำมากผิดปกติ เกินเปอร์เซนไตล์ที่ 95 ของแต่ละอายุครรภ์ หรือ AFI เกิน 24-25 ซม ถ้าวัดปริมาตรได้โดยตรงจะถือที่มากกว่า 2,000 มล. ตอนครรภ์ครบกำหนด ส่วนมากแล้วจำนวนน้ำคร่ำที่มากมักจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเรียกว่า chronic hydramnios แต่ถ้าเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วันก็เรียกว่า acute hydramnios ทั้งนี้ลักษณะของน้ำคร่ำจะเหมือนกับครรภ์ปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
ความสมดุลของน้ำคร่ำสัมพันธ์กับปริมาณของเหลวที่เข้าและออกจากถุงน้ำคร่ำ จะแตกต่างกันตามช่วงอายุครรภ์ ในช่วงหลังของการตั้งครรภ์จะสัมพันธ์กับปริมาณปัสสาวะของทารก การสร้างของเหลวจากปอด การกลืน และการดูดซึมผ่านทางเนื้อเยื่อของทารก ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ ในช่วงครึ่งหลังน้ำคร่ำจะมาจากปัสสาวะร้อยละ 30ของน้ำหนักตัว จากการกลืน ร้อยละ 20-25 และสร้างจากปอด ร้อยละ 10 ดังนั้นความผิดปกติของปริมาณน้ำคร่ำจะสัมพันธ์กับความผิดปกติของสมดุลจะมากหรือน้อยขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
สาเหตุ
ทารก
ความพิการของทารก
ครรภ์แฝด ที่มีภาวะแทรกซ้อนคือ twin-to- twin transfusion syndrome
ความผิดปกติอื่น ๆ เช่น trisomy 18, ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis) ทำให้การทำงานของหัวใจล้มเหลวจากสาเหตุต่าง
มารดา
มารดาเป็นเบาหวาน โดยเฉพาะในรายที่ควบคุมไม่ดีซึ่งพบได้ถึงร้อยละ 25 ทารกในครรภ์จะมีภาวะ hyperglycemia ส่งผลต่อระบบ osmotic ทำให้สร้างปัสสาวะมากขึ้น
เนื้องอกของรก chorioangioma
ผลกระทบ
มารดา
หายใจลำบาก
คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
สายสะดือย้อย
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
ติดเชื้อทางเดินปัสสาว
ตกเลือดหลังคลอด
วนนำของทารกที่ผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอดรวมถึงหัตถการทางสูติศาสตร์อื่น ๆ
ทารก
อัตราตายปริกำเนิด จะเพิ่มขึ้น 2-5 เท่า ในรายที่น้ำคร่ำเยอะโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะในรายที่ทารกตัวโต
หน้าที่ของน้ำคร่ำ
สำคัญต่อการเจริญเติบโตของปอดทารก
การกลืนน้ำคร่ำของทารก ส่งเสริมการเจริญของระบบทางเดินอาหาร
ทำให้ทารกมีพื้นที่ในการเคลื่อนไหว ส่งเสริมการเจริญเติบโตของระบบกล้ามเนื้อและเส้นประสาท
ป้องกันการกดทับของสายสะดือจากตัวทารก
ป้องกันการกระทบกระเทือนที่อาจจะเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์มี
มีคุณสมบัติเป็น bacteriostatic
Multifetal Pregnancy การตั้งครรภ์ที่มีทารกในครรภ์มากกว่า 1 คนขึ้นไป
สาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียว (Monozygotic) จะไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
แฝดที่เกิดจากไข่หลายใบ (Dizygotic) เชื่อว่าเกิดจากปัจจัยหลายประการ
เชื้อชาติ พบในคนผิวด ามากกว่าคนผิวขาว
กรรมพันธุ์ โดยเฉพาะฝ่ายมารดามีอิทธิพลมากกว่าฝ่ายบิดา
อายุ และจ านวนครรภ์ ยิ่งมารดามีอายุมาก และครรภ์หลังมาโอกาสเกิดครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
ขนาดตัวและโภชนาการ มารดามารดาที่มีขนาดตัวสูงใหญ่ภาวะโภชนาการดีมีโอกาสเกิดครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
ระดับ Gonadotropin ที่สูงขึ้น
การใช้ยากระตุ้นการตกไข่ หรือการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ เช่น การท า GIFT
การท า IVF เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นผลให้มีครรภ์แฝดเพิ่มขึ้น
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Dizygotic (fraternal) twins -> false twins
เกิดจากการผสมของไข่ 2 ใบกับเชื้ออสุจิ 2 ตัว จึงเสมือนหนึ่งเป็นพี่น้องเพียงแต่มาอาศัยอยู่ในมดลูกพร้อมกันเท่านั้น
แฝดชนิดนี้เป็นแฝดเทียม (false twins)
พบ diamnion, dichorion, 2 placenta
Monozygotic (identical) twins -> true twins
เป็นแฝดแท้ เกิดจากการผสมของไข่ใบเดียวกับเชื้ออสุจิตัวเดียวจนได้fertilized ovum แล้วแยกตัวเองเป็นสองใบ ขณะที่มี differentiation(clevages) ตั้งแต่ระยะ morulla จนเกิด embryo ใช้เวลาประมาณ 14 วัน
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
ด้านมารดา
โลหิตจาง
ภาวะความดันโลหิตสูง
การคลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ าคร่ าแตกก่อนก าหนด
รกเกาะต่ า
รกลอกตัวก่อนก าหนด
ครรภ์แฝดน้ า
การคลอดยาวนาน
การคลอดติดขัด
การตกเลือดหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
อาการไม่สุขสบายที่พบบ่อย เช่น คลื่นไส้อาเจียนรุนแรง ปวดหลัง หายใจล าบาก
ด้านทารก
การแท้ง
ทารกตายในครรภ์
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกโตช้าในครรภ์
มีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน Twin–Twin transfusion syndrome
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
pregnancy induced hypertension
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
Gestational hypertension (Transient hypertension)
พบความดันโลหิตสูงครั้งแรกขณะตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด 12 สัปดาห์
ไม่พบบวมหรือโปรตีนในปัสสาวะ
หายไปหลังคลอด 12 สัปดาห์
Preeclampsia (ครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก)
พบความดันโลหิตสูงครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
พบบวมหรือพบโปรตีน (300 มก./24 ชม.หรือ dipstick test ตั้งแต่ 1+)
Eclampsia (ครรภ์เป็นพิษระยะชัก)
ภาวะชักซึ่งหาสาเหตุอื่นไม่พบในกลุ่ม Preeclampsia
การชักเกิดขึ้นได้ทั้งระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
Chronic hypertension (ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง)
พบก่อนตั้งครรภ์หรือก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
คงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
Superimposed preeclampsia
กลุ่ม Chronic hypertension ตั้งครรภ์
ตรวจพบครรภ์เป็นพิษแทรกซ้อน
โปรตีนในปัสสาวะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
เกร็ดเลือดน้อยกว่า100,000 ต่อไมโครลิตร
Creatinine ในเลือดสูงกว่าเดิม 2 เท่า
สาเหตุ
พันธุกรรม
ระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะขาดเลือดของรก
การตอบสนองที่ผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือดของมารดา
ที่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
การกระตุ้นกระบวนการอักเสบที่ผิดปกติของมารดาขณะตั้งครรภ์
ปัจจัยที่ส่งเสริมที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง
ประวัติเคยมีภาวะ preeclampsia มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 7 เท่า
primigravida
ประวัติพันธุกรรมในครอบครัวโดยเฉพาะมารดา
ประวัติการเจ็บป่วยทางอายุรกรรม เช่น DM, HT, โรคไตเรื้อรัง เป็นต้น
ภาวะที่รกท างานเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
อายุมากกว่า 35 ปี หรืออายุน้อยกว่า 20 ปี
ภาวะขาดสารอาหาร
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูง
น้้าหนักเพิ่มมาก
บวม
พบโปรตีนในปัสสาวะ
อาการผิดปกติทางสายตา
ปวดศีรษะ
นางสาวณิชกานต์ สารอินสี เลขที่ 27 รหัสนักศึกษา 611901028