Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกต, A6380041 นางสาวเบญญาทิพย์ บาลโสง - Coggle…
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกต
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระของหญิงตั้งครรภ์
มดลูกเพิ่มความจุ
จาก 10 มล. เป็น 5 ลิตร น้ำหนักจาก 70 กรัม เป็นประมาณ 1,100 กรัม
กล้ามเนื้อขยายตัว มีการเพิ่มจำนวนของหลอดเลือด น้ำเหลืองและเส้นประสาทที่มาเลี้ยงมดลูก
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน มีการเพิ่มของฮอร์โมน estrogen และprogesterone รวมทั้งฮอร์โมนอื่นที่สร้างมาจากรก
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด
เมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนด ปริมาตรของเลือดจะมีการเพิ่มประมาณร้อยละ 45 เพื่อใช้สำหรับ ขนส่งสารอาหารจากแม่ไปสู่ทารกโดยผ่านรก มีการเพิ่มขึ้นของ plasmaมากกว่าเม็ดเลือดแดง
จึงทำให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดจางลง
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
ในระยะ 2-3 เดือนก่อนคลอด จะมีอาการท้องผูกเนื่องจากทารกในครรภ์มีขนาดใหญ่ไปกด ทับลำไส้ ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวได้น้อย
อาการคลื่นไส้อาเจียนเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาตั้งครรภ์ ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 12.5 กก. และไม่ควรน้อยกว่า 7 กก. หรือมากกว่า 13 กก.
ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
แอลกอฮอล 2. คาเฟอีน
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
เนื้อสัตว์ต่างๆ 2. นม 3. ไข่ 4. ผลไม้ 5. ผักชนิดต่างๆ
ถั่วเมล็ดต่างๆ 7. ไขมันหรือน้ำมัน 8. น้ำ
เกณฑ์การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว
ที่เหมาะสมในหญิงตั้งครรภ
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวปกติ และวางแผนที่จะให้นมบุตรหลังคลอด
ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12 กก. หรือประมาณ 400 กรัมต่อสัปดาห์ ในระยะไตรมาสที่ 2 และ 3
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่น(อายุ <18 ปี) หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่าร้อยละ 90 ของน้ำหนักมาตรฐานควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 14-15 กก. หรือในอัตรา 500 กรัมต่อสัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกิน
น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์อยู่ระหว่างร้อยละ 110-119 ของน้ำหนักตัวมาตรฐาน
หญิงตั้งครรภ์ที่มีลูกแฝด ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 18 กก. โดยมี
น้ำหนักเพิ่มขึ้นอาทิตย์ละ 650 กรัม ในระยะ 20 อาทิตย์ก่อนคลอด
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคอ้วน
ตลอดการตั้งครรภ์ 7-8 กก. โดยมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นไม่เกิน 300 กรัมต่อสัปดาห์
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
สารอาหารที่ให้พลังงาน 2. โปรตีน(protein)
แคลเซียม(Calcium)4. เหล็ก(Iron)5. ไอโอดีน(Iodine)
โฟเลท(Folate)7. วิตามินบี6 8. วิตามินซี9. วิตามินเอ10. วิตามินด
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
การหลั่งน้ำนมของแม่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
การให้ลูกดูดนม เป็นการกระตุ้นให้มีการหลั่งของน้ำนม
ควรให้นมลูกทุกๆ 2 ถึง 3 ชม. เพราะเป็นช่วงที่เต้านมสร้างน้ำนมได้เต็มที่
แม่ที่ไม่ค่อยให้ลูกดูดนม น้ำนมจะน้อย
ชนิดของน้ำนมแม่หลังคลอด
น้ำนมเหลือง(Colostrum)
น้ำนมระยะปรับเปลี่ยน(Transitional milk)
น้ำนมแท้(Mature milk)
ข้อดีของการให้ลูกดูดนมมารดา
ประจำเดือนมาช้า ช่วยในการวางแผนครอบครัว
แม่ที่ให้นมบุตรเต็มที่จะไม่มีประจำเดือน 8-12 เดือน
ความต้องการสารอาหารในระยะให้นมบุตร
พลังงาน2. โปรตีน3. แคลเซียม4. ธาตุเหล็ก5. ไอโอดีน
วิตามินชนิดต่างๆ 7. โฟเลท 8. น้ า
ปัญหาโภชนาการในหญิงให้นมบุตร
1.ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง
2.ความยากจน
3.นิสัยการบริโภคไม่ดี
4.ขาดความรู้ด้านโภชนาการ
แนวทางการบริโภคอาหารของหญิงให้นมบุตร
ประเภทของอาหาร
เนื้อสัตว์ต่างๆ ควรเป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือมีมันน้อย
เช่น เนื้อปลา ไก่ หมู ควรได้รับประมาณ 180-240 กรัมต่อวัน หรือวันละ 1/2-1 ถ้วยตวง
ข้อแนะนำเกี่ยวกับอาหารในหญิงให้นมบุตร
กินอาหารครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย พักผ่อนให้เพียงพอและออกกำลังกายสม่ำเสมอ
โภชนาการสำหรับวัยทารก
ความต้องการสารอาหารในทารก:แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
หลังจาก 6 เดือนไปจนถึงขวบปีแรกทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับนมแม่
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่(Breast feeding):ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
การแพ้อาหารในทารก:การแพ้โปรตีนในนมวัวมักเกิด
ในช่วงอายุ 1-4 เดือน จะมีอาการคัดจมูก อาเจียน ปวดท้อง มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง
การเลือกอาหารสำหรับทารก: กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิด กินเนื้อสัตว์ทุกวัน
อาหารสำหรับทารกแรกเกิดถึง 1 ปี:ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปีสำหรับเด็กอายุ 1-2 ปี
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองช้ากว่าในวัยทารก
เด็กวัยนี้เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
เด็กวัยนี้ต้องการอาหารเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ แต่ควรเพิ่มปริมาณสารอาหารให้มากกว่าเดิม
ควรหัดให้เด็กรับประทานอาหารทุกชนิด ผักและผลไม้สดทุกวัน โดยอาจเริ่มจาก แตงกวา มะละกอสุก ฯลฯ
จัดอาหารให้น่ารับประทาน
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่ ควรให้เด็กเป็นผู้เสนอรายการอาหารบ้าง เพื่อให้รู้สึกถึงการมีส่วนร่วม
ให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
ความต้องการสารอาหารของวัยรุ่น
พลังงาน:วัยรุ่นชายควรได้รับพลังงาน 2,300-2,400 kcal/วัน
วัยรุ่นหญิงควรได้รับพลังงาน 1,850-2,000 kcal/วัน
โปรีตีน:ควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1-2 กรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กก.
วิตามินและเกลือแร่
โภชนาการสำหรับผู้ใหญ่
ความต้องการสารอาหารในวัยผู้ใหญ
พลังงาน:พลังงานทั้งหมดควรมาจากคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 โปรตีนร้อยละ 15 และไขมันร้อยละ 30
โปรตีน:ควรได้รับโปรตีนวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กก.
วิตามินและเกลือแร่:ผู้ชายต้องการเหล็กลดลงเหลือ 10.4 ในขณะที่ผู้หญิงต้องการเท่าเดิมจนกว่าจะถึงวัยหมด
ประจำเดือน
วัยทอง(Golden period) มีการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบ
สืบพันธุ์ อาการกระดูกพรุน กระดูกเปราะ หักง่าย มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาหารของสตรีวัยทอง: ควรรับประทานอาหารประเภทถั่วต่างๆ ถั่วเหลือง เมล็ดธัญพืช ข้าวซ้อมมือ ปลา ผักและผลไม้สด
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลมและช็อกโกแลต อาจทำให้เกิดอาการ
กระวนกระวายและมีการแปรปรวนของอารมณ์
โภชนาการส าหรับผู้สูงอาย
กระบวนการแก่(Aging process)
เป็นกระบวนการเกิดขึ้นที่ปกติ ความแก่จะเกิดขึ้นเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ปัจจัยด้านพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลดลง 2. ภาวะสุขภาพปากและฟัน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีปัญหาฟันผุหรือไม่มีฟัน
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง 5. การทำงานของระบบไหลเวียนและไตลดลง 6. เนื้อเยื่อที่ปราศไขมันลดลง
เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป 8. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและจิตสังคม พบว่าผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวจะรับประทานอาหารได้น้อยลง
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
พลังงาน 2.โปรตีน 3.ไขมัน 4.คาร์โบไฮเดรต 5.วิตามินเอ 6.วิตามินดี 7.วิตามินอี 8.วิตามินเค 9.วิตามินซี 10.วิตามินบี6
11.วิตามินบี12 12.โฟเลต 13.แคลเซียม 14.เหล็ก 15.สังกะสี
A6380041 นางสาวเบญญาทิพย์ บาลโสง