Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม
1.พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และสามารถจะสังเกตได้
2.พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง
3.แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทำให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้
นักทฤษฎี
ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike)
สกินเนอร์ (B.F.Skinner)
พาฟลอฟ (Ivan Pavlov)
การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
การลงโทษที่รุนแรงเกินไป มีผลเสียมาก ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้ หรือจำสิ่งที่เรียนรู้ไม่ได้ ควรใช้วิธีการงดการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
หากต้องการเปลี่ยนพฤติกรรม หรือปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียน ควรแยกแยะขั้นตอนของปฏิกิริยาตอบสนองออกเป็นลำดับขั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน และจึงพิจารณาแรงเสริมที่จะให้แก่ผู้เรียน
ในการสอน การให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสมของเด็กจะช่วยเพิ่มอัตรากาตอบสนองที่เหมาะสมนั้น
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้
พาฟลอฟ
ก่อนที่จะให้อาหารแก่สุนัขจะต้องสั่นกระดิ่งก่อน แล้วตามด้วยอาหาร (ผงเนื้อ) ทำอย่างนี้อยู่ 7–8 วัน จากนั้นให้เฉพาะแต่เสียงกระดิ่ง สุนัขก็ตอบสนองคือน้ำลายไหลปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่าพฤติกรรมสุนัขถูกวางเงื่อนไขหรือเรียกว่าสุนัขเกิดการเรียนรู้การวางเงื่อนไขเบบคลาสสิก
กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งการลดภาวะ
กฎแห่งความแตกต่าง
กฎแห่งสรุปกฏเกณฑ์โดยทั่วไป
กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ