Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเก่า - Coggle Diagram
ผู้ป่วยเก่า
CC: ญาตินำส่งโรงพยาบาลด้วยอาการซึม และเรียกไม่รู้สึกตัว 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 5 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีประวัติรับประทานน้ำ และอาหารได้น้อย ประมาณ 2-3 คำต่อมื้อ และมีอาการอ่อนแรงเล็กน้อย 3 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยเริ่มมีอาการอ่อนแรงมากขึ้น ซึมลง และไม่ยอมพูดคุยกับญาติ และ 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการซึมมากขึ้น และเรียกไม่รู้สึกตัว ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยในอดีต : เกิดอุบัติเหตุมอเตอร์ไซต์ชนรถกระบะ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
และนอนติดเตียง (bed ridden) มา 6 เดือน
U/D : hypertension และ hyperlipidemia มา 10 ปี
เสี่ยงต่อภาวะชัก เนื่องจากมีภาวะ Hypernatremia
Dx. Alternation of conscious with Hypernatremia
พยาธิสภาพของโรค
เกิดจากการที่ผู้ป่วยรับประทานน้ำและอาหารน้อยลง
ทำให้ osmolarity ของน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
ทำให้ปริมาณน้ำนอกเซลล์ลดลง osmolarity เพิ่มขึ้น
มีผลกระตุ้นการหลั่ง ฮอร์โมน ADH
กระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ
ทำให้ปัสสาวะลดลง
ทำให้น้ำและ Na จะถูกดูดกลับเพิ่มขึ้น
1 more item...
น้ำในหลอดเลือดจะลดลง
ทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
เซลล์สมองขาดน้ำ
ทำให้ อ่อนแรง ระบบการทำความเข้าใจผิดปกติ
1 more item...
ระบุข้อวินิจฉัยการพยาบาล1 มีภาวะHypernatremiaเนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อย
O: รับประทานอาหารได้มื้อละ 2-3 คำ อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง Na= 167 mmol/L
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความรู้สึกตัว
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะ hypernatremia
3.ประเมิน v/s ทุก 4 hr
4.ดูแลให้ได้รับ 5% D/W 1,000 ml Vein rate 80 cc/hr
6.แนะนำญาติให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่โซเดี่ยมต่ำ
7.ติดตามผล Na
ระบุข้อวินิจฉัยการพยาบาล2 มีภาวะขาดน้ำเนื่องจากผู้ป่วยรับประทานน้ำน้อยS: ญาติบอกว่า ผู้ป่วยรับประทานน้ำน้อย
O: อ่อนเพลีย ปากแห้ง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะขาดน้ำ
2.ประเมิน v/s ทุก4 ชม. ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัว
3.ดูแลให้ได้รับ 0.9% NSS 1,000 ml Vein rate 80 cc/hr
4.Record urine output q 4 hr
5.สังเกตสีของ ปัสสาวะ
ร่างกายขาดน้ำ
แบบแผน การขับถ่าย
ระบุข้อวินิจฉัยการพยาบาล3 ท้องผูกเนื่องจากได้รับน้ำและรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย S: ญาติบอกว่าผู้ป่วยรับประทานอาหารและน้ำน้อย ถ่ายอุจจาระ 1ครั้ง/สัปดาห์
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการไม่ถ่ายอุจจาระ เช่นท้องอืด ปวดแน่นท้อง
ดูแลให้ได้ดื่มน้ำ 2-3 ลิตรต่อวันให้เพียงพอ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับทานอาหารที่มีกากใยสูง เช่นผัก ผลไม้
ดูแลให้ได้รับยาระบายหรือสวนอุจจาระเมื่อจำเป็น
สังเกตความถี่ ประมาณ และลักษณะอุจจาระ
Vital sign แรกรับ
T= 36.9 องศาเซลเซียส
BP= 165/80 mmHg
P= 128 ครั้ง/นาที
R= 30 ครั้ง/นาที
O2sat= 93 %