Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีความปวด (Pain in children) - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีความปวด (Pain in children)
Pain assessment in children
select appropriate pain-relieving interventions
Implement pain-relieving interventions
Assess child's pain
Evaluate the effectiveness of interventions
ความหมายและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
เป็นความไม่สุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวผู้ป่วยเท่านั้นที่รับรู้ระดับความเจ็บปวดที่แท้จริง
ความเจ็บปวดแตกต่างกันตามลักษณะสรีรวิทยาของการเกิด
วิธีการประเมินความปวด (Pain assessment strategies)
Behavioural Indicators
Physiological indicators
Self-report
Guidelines on assessment pain
สังเกตการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ถามคำถามให้เหมาะกับวัย
สอบถามผู้ดูแลถึงปฏิกิริยาเมื่อเด็กปวด
ประเมินPain score เป็นระยะ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายต่างๆ
การแสดงออกความปวดในวัยต่างๆ
New born
Facial expression
Quivering shin
Stretched and open mouth
Grimacing with eyes squeeze shut
Infant
รับรู้สิ่งที่กระตุ้นได้
Pre-school
สามารถแยกระดับความปวดได้บ้าง
วัยเรียน5 ปีขึ้นไป
สื่อสารและแยกแยะความปวดได้
เครื่องมือการประเมินความปวด
Physiological indicators
vital signs : RR:arrow_up: ,HR :arrow_up: ,BP :arrow_up: :arrow_down: ,
Palmar sweating
O2 saturation
Pallor or flushing
Shadow breathing
Behavioral Pain Assessment
CRIES Scale for Postoperative pain
CHEOPS (Children's Hospital of Estern Ontario Pain Scale)
NIPS (Neonatal infant pain score)
FLACC (Face,Leg,Activity,Cry,Consolability
แนวทางการจัดการความปวด (Guidelines for pain management)
การจัดการโดยไม่ใช้ยา
เบี่ยงเบนความสนใจ ,ให้ข้อมูลญาติและผู้ป่วย ,ให้ความมั่นใจในการรักษา เช่น การนับเลข Pet therapy การจัดท่า เป็นต้น
การจัดการโดยใช้ยา
Nonopioid analgesic
opioid analgesic