Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Patient Medication Safety ควาปลอดภัยด้านยา, -สารชักนาเอนไซม์ (Enzyme…
Patient Medication Safety
ควาปลอดภัยด้านยา
Adverse drug reaction(ADR)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
Type A
หรือ ผลข้างเคียงจากการใช้ยา (side effect)
ผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
ทานายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ความรุนแรงของอาการมีความสัมพันธ์กับขนาดยา
Type B
หรือ การแพ้ยา (drug allergy)
ไม่สามารถทานายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ความรุนแรงของอาการไม่มีความสัมพันธ์กับขนาดย
มักเกิดภายหลังจากที่เคยได้รับยาชนิดนั้นมาก่อน แล้วไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง antibodies จึงเกิดอาการแพ้หลังจากได้รับยาเดิมซ้า
ปฏิกิริยาตอบสนอง ร่างกายกับยาโดยไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น
เกิดได้แม้ใช้ขนาดยาปกติ ไม่รวมจากการใช้ขนาดยาสูงหรือใช้ในทางที่ผิด
สามารถเกิดขึ้นได้ทุกระบบ
Drug interactions(DI)
การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา
เกิดขึ้นเมื่อระดับยาหรือฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาตัวหนึ่งในร่างกายเปลี่ยนแปลงไปเมื่อได้รับยาตัวอื่นร่วมด้วย
ยาที่เป็นสาเหตุของผลกระทบ =
precipitant drug
ยาที่ได้รับผลกระทบจากปฏิกิริยาระหว่างยา =
object drug
ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาระหว่างยามีได้ทั้งด้านลบและด้านบวก
ด้านลบ
เกิดอาการไม่พึงประสงค์/พิษจากยาหรือการรักษา/มีประสิทธิภาพลดลง
ด้านบวก
เกิดการเสริมฤทธิ์การรักษาให้ดีขึ้น
drug interactions
ปฏิกิริยาระหว่างยา
Pharmacokinetic drug interactions
การศึกษาเกี่ยวกับการที่ร่างกายจัดการอย่างไรกับยาที่ได้รับเข้าไป ได้แก่ การดูดซึม, การกระจาย, การเปลี่ยนแปลง, และการขับถ่าย
-เพิ่มหรือลดยามีผลต่อการ เปลี่ยนเเปลงฤทธิ์ยาเเละการรักษา
-เพิ่มหรือลดยามีผลระดับยาในเลือดเปลี่ยนเเปลง
-การดูดซึมยาลดลง
Pharmacodynamics drug interactions
การศึกษาฤทธิ์และผลของยาต่อร่างกาย รวมทั้งฤทธิ์แทรกซ้อนและพิษ ของยา รูปแสดงความสัมพันธ์ของการดูดซึม, การกระจาย, การทำลายและ การขับถ่ายของยา
-เพิ่มหรือลดยา ไม่มีผลต่อระดับยาในเลือด
Drug antagonism
การขัดขวางการออกฤทธิ์
1. Chemical antagonism
การขัดขวางฤทธิ์ที่เกิดขึ้นเมื่อสาร2ชนิดทาปฏิกิริยาเคมีต่อกัน ทาให้สารหนึ่งหมดฤทธิ์
2.Pharmacokinetic antagonism
ยาหรือสารเคมีมีผลเปลี่ยนแปลงปริมาณยาโดย
3. Competitive antagonism
การขัดขวางฤทธิ์โดยสาร2ชนิดชนิดหนึ่งเป็นagonist อีกชนิดเป็นantagonist แย่งจับ receptor แบบเดียวกันโดยใช้พันธะทางเคมีที่จับแบบผันกลับได้(reversible) reversible) reversible)
4. Non -competitive antagonism
การขัดขวางฤทธิ์โดยสาร2ชนิดชนิดหนึ่งเป็นagonist อีกชนิดเป็นantagonist แย่งจับreceptor ณ ตาแหน่งที่ต่างกันทาให้การจับของ agonist agonist กับ receptor ลดลง หรือใช้พันธะทางเคมีที่จับแบบผันกลับไม่ได้ (irreversible)
5. Physiological antagonism
ปฏิกิริยาที่เกิดจากสาร 2 ชนิดออกฤทธิ์บนเนื้อเยื่อเดียวกันแต่มีผลตอบสนองขัดขวางกันหรือตรงข้ามกัน.
การพิจารณาความรุนแรง
2. Severity แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
• Major (รุนแรงมากถึงชีวิตหรือเสียหายถาวร)
• Moderate Moderate Moderate (ผลปานกลาง ทาให้อาการของผู้ป่วยแย่ลงต้องนอนรักษาตัวนานขึ้น)
• Minor (ผลเกิดน้อย ไม่จาเป็นต้องรักษา
เพียงมีการติดตามเฝ้าระวัง)
3. Documentation
หลักฐานเอกสารทางวิชาการที่แน่ชัด
1. Onset --rapid rapid
(ผลเกิดชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากให้ยาร่วมกัน ซึ่งจาเป็นต้องเตรียมพร้อมเพื่อการแก้ไขทันที)
Fatal Drug Interaction
ปฏิกีริยาระหว่างยาที่ร้ายเเรง
Contraindication Fatal Drug Interaction
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน พยาบาลหรือเภสัชกรจะต้องทวนสอบกับแพทย์ผู้สั่งอีกครั้งทันทีที่พบการสั่งใช้ยา
Monitoring Fatal Drug Interaction
ใช้ร่วมกันได้แต่ต้องเฝ้าระวังการอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
Drug incompatibility
การผสมรวมกันไม่ได้ของยา
ความเข้ากันไม่ได้(incompatibility)
เกิดขึ้นเมื่อนาสารมาผสมกันตั้งแต่2ชนิดขึ้น
ไปแล้วทาให้คุณสมบัติเปลี่ยนไปไม่อยู่ในสภาพที่ควรจะนาไปใช้ต่อได้
แบ่งประเภทความเข้ากันไม่ได้เป็น 3 ประเภท
1.Physical incompatibility
ความเข้ากันไม่ได้ทางกายภาพ ได้แก่ มีตะกอน ผลึก สีฟอง แก๊ส
2.Chem incompatibility
ความเข้ากันไม่ได้ทางเคมี เกิดเมื่อผสมวารกันจนเกิดปฏิกิริยาทางเคมีทาให้มีการเปลี่ยนสภาพหรือสลายตัวยาสาคัญ ทาให้การรักษาไม่ได้ผลหรือได้ผลน้อยลง
3.Therapeutic incompatibility
ความเข้ากันไม่ได้ทางการรักษา เกิดเมื่อผสมสารกันแล้วทาให้เกิดฤทธิ์ต้านหรือเสริมกัน
Stbility ความคงตัว
3.Microbiologicalstability
ความคงตัวทางจุลชีววิทยา
การคงความปลอดเชื้อ (sterility) sterility) หรือมีจำนวนแบคทีเรียไม่เกินระดับที่กาหนด
1.Physical stability stability
ความคงตัวตามคุณสมบัติเดิมทางการภาพของยา
การเปลี่ยนทางกาพภาพของยาที่เป็นการตกตะกอนบางครั้งอาจมองเห็นได้หรือไม่เห็นด้วยตาเปล่า
การไม่เปลี่ยนสี การไม่เกิดตะกอนหรือจากสารละลายยาที่เคยใสไม่เปลี่ยนเป็นสีขุ่น
5. Toxicology stability
ความคงตัวทางพิษวิทยา
ไม่มีการเพิ่มขึ้นของพิษจากยา หรือไม่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ เช่น เกิดไข้ หนาวสั่น chill, chill, เกิด
phlebitis เป็นต้น
4.Therapeutic stability
ความคงตัวของประสิทธิภาพการรักษา
การผสมยาเข้าด้วยกันแล้วทาให้ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาไม่เปลี่ยนแปลง (ไม่ต้านกันหรือเสริมกัน) โดยที่ผลการรักษายังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
2. Chemical stability
ความคงตัวทางเคมี
เป็นการพิจารณาตัวยาสาคัญว่ามีคุณสมบัติทางเคมี และความแรง (potency) ตามที่ระบุในฉลากยาหรือไม่
ยาจะมีความคงตัวทางเคมีเมื่อมีตัวยาสาคัญหรือความแรงอย่างน้อย 90 % หรือการเสื่อมสลายของตัวยาสาคัญน้อยกว่า 10 %
Drug incompatibility & stability
ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัวเเละเข้ากันได้ของยา
4.สภาวะในการเก็บยา
7. วิธีการให้ยา
Y-site
= การให้ยา2ชนิดหรือมากกว่า ที่เจือจางแยกจากกันแต่ให้ผ่านชุดน้าเกลือเดียวกัน เรียกว่า
Y-site incompatibility
Additive
=ให้ยา2ชนิดแล้วผสมกันในถุงน้าเกลือเดียวกัน เรียกว่า
Additive incompatibility
3. ความเข้มข้นของยาหลังผสม
6. คุณสมบัติของยา
5. แสง
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี ทาให้ยาสลายตัวได้เร็วขึ้น ยาแต่ละชนิดมีความไวต่อแสงไม่เท่ากัน
1. ชนิดของสารน้าที่ใช้
สารน้าที่ไม่แนะนาให้ใช้ผสมยาได้แก่ blood plasma, protein hydrolysate, hydrolysate, amino acid solution, sodium bicarbonate, fat emulsion
2. สภาพความเป็นกรดด่าง
โดยความคงตัวของสารละลายยาหลังผสมเปลี่ยนแปลงตามความเป็นกรดด่างของสารน้า
-สารชักนาเอนไซม์ (Enzyme inducers)
-สารยับยั้งเอนไซม์ (Enzyme inhibitors)