Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ - Coggle…
การพยาบาลแบบองค์รวมในผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม
ผู้ป่วย anxiety/stress ฉับพลันและหรือเรื้อรัง
ลักษณะอาการ
ความเครียด (Stress)
การแสดงอาการ
อาการการแสดงทางกาย : มึนงง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ปวดแน่นท้อง เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ หัวใจเต้น เร็ว หูอื้อ มือเย็น อ่อนเพลีย ท้องร่วง ท้องผูก จุกท้อง มึนงง คลื่นไส้อาเจียน หายใจไม่อิ่ม จนถึงหายใจเร็ว
อาการแสดงทางด้านจิตใจ : ไม่มีความสุข วิตกกังวล การตัดสินใจไม่ดี ขี้ลืม สมาธิสั้น ไม่มีความคิดริเริ่ม ความจาไม่ดี ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
อาการแสดงทางด้านอารมณ์ :โกรธง่าย ร้องไห้ ซึมเศร้า ท้อแท้ หงุดหงิด ซึมเศร้า มองโลกในแง่ ร้าย
อาการแสดงทางพฤติกรรม : รับประทาน อาหารเก่งหรือไม่รับรับประทาน ติดบุหรี่สุรา พูดจาโผงผาง กัดเล็บหรือดึงผมตัวเอง แยกตัว เปลี่ยนงานบ่อย
ชนิดของความเครียด
Acute stress คือความเครียดที่เกิดขึ้นปัจจุบัน ทันทีและร่างกายก็ตอบสนองต่อ ความเครียดนั้นในทันทีโดยมีการหลั่งฮอร์โมนความเครียด
Chronicstressหรือความเครียดเรื้อรังเป็นความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวันในชีวิตประจำวัน และร่างกายไม่สามารถตอบสนองหรือแสดงออกต่อความเครียดนั้น
การพยาบาล
ประเมินระดับความเครียด
วางแผนและให้การช่วยเหลือ
ลดระดับความเครียด
การพูดสื่อสารต้องสั้นๆกระชับ
ประคับประคองให้กาลังใจด้วยคำพูด และท่าที เข้าใจ
ช่วยให้มีวิธีการจัดการกับความเครียดโดยเสนอแนะวิธีการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียดสอน วิธีการผ่อนคลายด้วยตนเองและแนะนาการปรับวิธีคิดและการใช้กลวิธานป้องกันตัว
กรณีผู้ป่วยเครียดมากจนแพทย์ต้องให้ยา เพื่อให้ได้นอนหลับพักผ่อน
กรณีผู้ป่วยเครียดฉับพลัน เช่นแสดงการหายใจเร็วการช่วยเหลือเบื้องต้น
ภาวะวิตกกังวล (Anxiety)
คือ เป็นอารมณ์พื้นฐานของมนุษย์เกิดข้ึนเมื่อคาดว่าจะมีสิ่งมา คุกคามหรือทำอันตรายต่อเรา
ระดับของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลระดับต่ำ (Mild anxiety) เป็นปกติในบุคคลทั่วไป ช่วยกระตุ้นให้บุคคล แก้ปัญหาและทากิจกรรมต่างๆ ได้ดีข้ึน
ความวิตกกังวลระดับกลาง (Moderate anxiety) บุคคลจะเกิดการรับรู้เรื่องต่างๆ แคบลง บุคคลจะสนใจเฉพาะปัญหาที่จะทาให้ตนไม่สบายใจ พยายามแก้ปัญหามากข้ึน
ความวิตกกังวลระดับสูง (Severe anxiety) บุคคลจะมี สนามการรับรู้แคบลง สมาธิในการรับฟัง ปัญหาและข้อมูลต่างๆ ลดลงเพราะครุ่นคิดหมกมุ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจนไม่สนใจส่ิงแวดล้อม มีอาการมึนงงกระสับกระส่ายไม่อยู่กับท่ี
ความวิตกกังวลระดับสูงสุด (Panic
anxiety) สนามการรับรู้น้อยมาก บุคคล จะตื่นตระหนก สับสน วุ่นวาย หวาดกลัว สุดขีด มึนงงควบคุมตนเองไม่ได้ไม่มี แรง อาจมีอาการประสาทหลอน แขนขา ขยับไม่ได้ บางคนเป็นลม
การพยาบาล
ประเมินสภาพปัญหาความรุนแรงและลักษณะอาการของบุคคลที่มีความวิตกกังวล
การวางแผนการพยาบาล
การช่วยเหลือผู้ที่วิตกกังวล เน้นที่ : แสดงการยอมรับ
พูดคุย ด้วยน้าเสียงไม่ดังนัก
ให้ความมั่นใจว่าจะได้รับการช่วยเหลือ
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบและลดสิ่ง กระตุ้นความเครียด และวิตกกังวล
ดูแลตอบสนองความต้องการด้าน ร่างกาย
ให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ยากลุ่มที่ 1 เป็นยา Antidepressant ที่นิยมใช้คือ ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์กับสารสื่อประสาท ข้อเสียที่จาเป็นต้องรับประทานยาอย่าง น้อย 2 สัปดาห์ขึ้นไป จึงสามารถบอกผลการรักษาได้ ดังนั้นในช่วง 2 สัปดาห์แรกของการรักษา แพทย์จึงต้องให้ ยากลุ่มที่ 2
ยากลุ่มที่ 2 คือยาคลายกังวล (Anxiolytic) ซึ่งยามักออกฤทธิ์ทันที ช่วยลดการตื่นตัวของระบบประสาท และช่วยให้นอนหลับ เนื่องจากยากลุ่มที่ 2 นี้ มีฤทธิ์ง่วงซึม จึงควรระมัดระวังถ้ารับประทานยาในช่วงเวลาทางาน
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
กลุ่มโรควิตกกังวล
Panic disorder
ลักษณะอาการ
เป็น anxiety disorders ที่พบได้บ่อย ทั้งในเด็กและวัยกลางคนมักมาโรงพยาบาลอย่างฉุกเฉิน ด้วยอาการแน่นหน้าอก ใจสั่น กลัวหายใจไม่ออก เวียนศีรษะ จุกแน่นท้อง มือเท้าเย็นชา รู้สึกเหมือนจะ ควบคุมตัวเองไม่ได้เหมือนตัวเองกำลังจะตายหรือกำลังจะเป็นบ้า
สาเหตุ
ทางพันธุกรรม ความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง norepinephrine (NE) หรืออาจจะเกิดจากความเครียดสะสม
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
กรณีผู้ป่วยที่กำลังมีอาการ panic ต้องบอกให้ผู้ป่วยหยุดพฤติกรรมนั้น จากนั้นช่วยให้สงบโดยอาจบอกให้ เขาหายใจยาวๆลึกเพื่อให้ผ่อนคลายและให้ความมั่นใจโดยบอกว่า แพทย์พยาบาลกำลังช่วยอยู่"
แพทย์รักษาโดยใช้ยา antidepressant ร่วมกับยา antianxiety ติดต่อกันสักระยะ อาการแพนิคจะ ค่อยๆดีขึ้นแต่พบว่ามักไม่หายขาด พยาบาลต้องให้ความรู้เรื่องผลข้างเคียงของยา เช่น คลื่นไส้ ปากแห้ง กระวนกระวาย นอนไม่หลับ
ช่วงที่ผู้ป่วยรักษาตัวที่โรงพยาบาล ต้องเน้นการดูแลเรื่องความปลอดภัย
ให้ข้อมูลผู้ป่วยด้านการควบคุมอารมณ์ เช่น การฝึกลมหายใจ
Phobiadisorder
ลักษณะอาการ
มีความกลัวมากที่ไม่ปกติ ไม่สมเหตุสมผลกับสิ่งที่ กลัว อาจกลัวสิ่งของ บุคคลหรือเหตุการณ์ต่างๆ การกลัวมีความรุนแรงทางอารมณ์ และหากเจอกับ สิ่งที่กลัวแล้วจะมีอาการตื่นกลัวตกใจอย่างมาก บางคนอาจถึงกับใจสั่น เหงื่อแตก แน่นหน้าอก มือ ชาเท้าชา ในบางกรณีอาจเป็นลมได้ ความกลัวนี้ รบกวนชีวิตประจำวันมาก
ประเภทของโรคกลัว (Types of Phobias)
Social Phobias : อาการกลัว หรือภาวะความกลัว ที่เกิดขึ้นในสภาวะการณ์ทางสังคม หรือในสถานที่ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
Specific Phobia : อาการกลัว ซึ่งเกิดจากสิ่งเร้าที่มีลักษณะจำเพาะเจาะจง ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ กลัวที่แคบ หรือแม้แต่สิ่งที่ระบุไม่ได้ เป็นต้น แบ่งหลักๆ ได้ 4 ประการ
Natural Environment : สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า พายุ แสงแดด ต้นไม้ เสียงลมพัด
Animal : สัตว์ต่างๆ เช่น งู แมงมุม ตะขาบ สุนัข ไก่ เป็นต้น
Medical : เช่น กลัวการเห็นเลือด กลัวคุณหมอ กลัวเข็มฉีดยา เป็นต้น
Situation : กลัวสถานการณ์ เช่น ขับรถ ขึ้นสะพาน เป็นต้น
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
การรักษาด้วยยาคล้าย Panic dicorder โดยแพทย์จะให้เพียงเพื่อช่วยลดความกลัวใน ช่วงแรกเท่านั้น
การช่วยเหลือด้านจิตใจโดยพูดคุย
การบำบัดทางจิตที่นิยม
การบาบัดอื่นที่ใช้เสริม ได้แก่ โดยการฝึกกำหนดลมหายใจ
Acute stress disorder & Post traumatic stress disorder
ลักษณะอาการ
โรคเครียดเฉียบพลัน เป็นผลของความกดดันต่อร่างกายและจิตใจที่รุนแรงเกินกว่าปกติ
Re-experienceคิดคานึงถึงหตุการณ์ นั้นซ้ำๆ ทั้งขณะหลับหรือตื่น
Avoidanceมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง เหตุการณ์หรือสิ่งที่เกี่ยวพันกับ
เหตุการณ์นั้นๆ
Hyperarousal มีอาการตื่นเต้นตกใจ ง่าย ทั้ง ๆที่ไม่เคยมีมาก่อน
การวินิจฉัย Acute Stress disorder ตาม DSM V
A.ผู้ปว่ยเผชิญหรือถูกคุกคามจากเหตุการณ์ที่เฉียดตายบาดเจ็บรุนแรงหรือความรุนแรงทางเพศโดยทางใด ทางหนึ่ง ( หรือหลายทาง )
B. มีอาการอย่างน้อย 9 อาการ
C. ระยะเวลาของความผิดปกติ (อาการตามเกณฑ์ข้อ B ) นาน 3 วัน ถึง 1 เดือนหลังเหตุการณ์
D.อาการเหล่านี้ก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีความสพคัญทางการแพทย์หรือกิจกรรมด้านสังคม การงาน หรือด้านอื่นๆ ที่สำคัญ บกพร่องลง
E. อาการเหล่านี้ไม่ได้เป็นผลจากการใช้สาร เช่นยาหรือสารเสพติด หรือโรคทางกาย
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
การช่วยเหลือภายใน 24 ชั่วโมงแรก
ให้ความมั่นใจด้านความปลอดภัยว่าเหตุการณ์รุนแรงนั้นผ่านแล้ว
บอกผู้ป่วยว่าหากคิดถึงเหตุการณ์นั้นซ้ำๆ
หากเกิดอาการตกใจง่าย ใจสั่นอาจใช้วิธีการหายใจเข้าออกช้าๆ เพื่อให้เกิดการผ่อนคลาย
หากผู้ป่วยไม่กล้าเข้าใกล้สถานที่ที่ชวนให้นึกถึงเหตุการณ์นั้นซ้ำอีก อาจใช้วิธีฝึกด้วยการเข้าไปใน สถานที่ หรือเข้าใกล้สถานการณ์นั้นๆ
สาเหตุ
ประสบเหตุการณ์
พบความผิดปกติของสารสื่อประสาท เช่น Dopamine , epinephrine
พบเป็นความผิดปกติร่วมกับโรค ซึมเศร้า วิตกกงวล
Post-traumatic stress disorder
การวินิจฉัย Post traumatic disorder ตาม DSM V
เป็นอาการตอบสนองทางด้านจิตใจและ ร่างกาย ต่อเหตุการณ์ที่เป็นความเครียด ความกดดันและคุกคามต่อผู้ป่วยอย่าง รุนแรง
ระยะเวลาของความผิดปกตินานกว่า 1 เดือน หลังจากเผชิญกับเหตุการณ์ ระยะเวลาของอาการจะไม่แน่นอน
อาการที่พบได้แก่ ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่าตนเองยังอยู่ในเหตุการณ์นั้น ๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก
สถานการณ์ใด ๆ ที่ทำให้รำลึกถึงเหตุการณ์สะเทือนใจนั้น ตกใจง่าย ระวังตัวมาก นอนไม่หลับ โดยมี ปัญหาด้านความทรงจำ มักคิด เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประสบมา โดยไม่ได้ตั้งใจ มี flashbacks ซึ่งอาจ เป็นเหตุการณ์ที่ไม่สัมพันธ์หรือเป็นเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจก็ได้มักพบอาการกังวลใจและ อาการซึมเศร้าร่วมด้วย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกับความรุนแรงของอาการขึ้นกับตัวกระตุ้นความเครียดและระบบสนับสนุน (คน/ แหล่งช่วยเหลือ) ไม่มีคุณภาพ
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
การรักษาด้วยยา : แพทย์มักให้ยาในกลุ่มยาแก้ซึมเศร้า
การรักษาทางจิตสังคม: คือการทาพฤติกรรมบำบัดให้ผู้ป่วยสงบลง
เป้าหมายสาคัญคือ ให้ผู้ป่วยกลับมาดำเนินชีวิตได้ตามปกติเหมือนก่อนประสบเหตุการณ์
พยาบาลให้คำปรึกษาโดย
รับฟังปัญหาของเขาอย่างจริงใจ
สอบถามด้วยความห่วงใย
ผู้ป่วยมักโทษว่าเป็นความผิดของตัวเอง ต้องอธิบายให้เขาเข้าใจว่าใคร ๆ ก็คาดเดาเหตุการณ์ไม่ได้ หรือถึงจะเข้มแข็งแค่ไหนก็ช่วยไม่ได้
Obsessive-compulsivedisorder(OCD)
ลักษณะอาการ
เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีความคิดซ้ำๆ ที่ทำให้เกิดความ กังวลใจ และมีการตอบสนองต่อความคิด
อาการย้ำคิด (obsession) เป็นความคิด ความรู้สึก แรงขับดันจากภายใน หรือจินตนาการ ที่มักผุดขึ้นมาซ้ำๆ
อาการย้ำทำ (compulsion) เป็นพฤติกรรมซ้าๆ ที่ผู้ป่วยทำขึ้น โดยเป็นการตอบสนองต่อความย้ำ
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
การรักษาด้วยยา
พฤติกรรมบาบัด โดยการให้ผู้ป่วยเผชิญ กับสิ่งที่ทาให้กังวลใจและป้องกันไม่ให้มีพฤติกรรมย้ำทำ ที่เคย กระทำ
หลักการช่วยเหลือที่สำคัญ คือ ลดการใช้เวลากับสิ่งที่ผู้ป่วยทำซ้ำๆนั้นเพราะจะยิ่งเพิ่มความเครียด
Generalized Anxiety Disorder (GAD)
ลักษณะอาการ
มีความวิตกกังวลในเรื่องทั่วๆไปที่ไม่ควรกังวลมากเกินกว่าเหตุและกังวลในหลายๆ เรื่องพร้อมกัน
ผู้ป่วยรู้สึกว่าไม่สามารถควบคุมความกังวลนี้ได้
มีอาการทางกายต่างๆ ดังต่อไปนี้: อาการทางระบบประสาทอัตโนมัต
อาการทั้งหมดเป็นอยู่บ่อยๆ นานกว่า 6 เดือน
วิธีบำบัดทางการพยาบาล
รักษาทางยาและจิตสังคม คล้ายๆกับการ รักษาในกลุ่มโรควิตกกังวล
กรณีผู้ป่วยกำลังมีอาการ การพยาบาล สิ่งแรกที่ต้องทำคือ ประเมินระดับความวิตกกังวล
สิ่งที่จะบอกว่าการพยาบาลมี ประสิทธิภาพคือ สามารถการระบุการปฏิบัติการ พยาบาลที่ช่วยลดระดับวิตกกังวลได้
Trumatic and Stress-related Disorder
ลักษณะอาการ
อาการ
•Shock, denial, or disbelief.
Confusion, difficulty concentrating.
Anger, irritability, mood swings.
Anxiety and fear.
Guilt, shame, self-blame.
Withdrawing from others.
Feeling sad or hopeless.
Feeling
disconnected or numb.
การพยาบาล
มโนทัศน์หลัก (core concept) คือ Trauma หมายถึง ภาวะที่บุคคลมีความกดดันมากอย่างรุนแรง มี อารมณ์ช็อค และมีอาการทางจิตเป็นเวลานาน
การประเมินอาการ(รายบุคคล)
พิจรณาระดับความเข้มแข็งของจิตใจ
ประสิทธิภาพของแหล่งช่วยเหลือแก้ไขจิตใจแข็ง
พฤติกรรมที่แสดงออกมา
ระดับของการพัฒนาทางจิตใจ
ข้อมูลส่วนบุคคลเช่นอายุสถานภาพทางเศรษฐกิจการศึกษา
การดูแลช่วยเหลือด้านจิตใจ
ให้การดูแลประคับประครองทางจิตใจ(socialsupport)
ดึงศักยภาพของแหล่งทรัพยากรช่วยเหลือเข้ามาช่วย เช่น ครอบครัว และเพื่อน
ทัศนคติความเชื่อในเรื่องนี้ของสังคม
วัฒนธรรมหลักและวัฒนธรรมย่อยที่เกี่ยวข้องอยู่
ในช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการมาก
อยู่กับผู้ป่วยถ้ามี flashback and nightmares เพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจว่าเขาจะปลอดภัย
สนับสนุนให้ผู้ป่วยพูดถึงการเจ็บปวดทางใจและความปรารถนาที่เขาอยากได้ และให้เขาได้รู้สึกว่าเขาได้ระบายออก
พูดคุยและอภิปรายกันในประเด็นกลวิธีตอบสนองต่อภาวะนี้ที่เหมาะสม