Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรู้สติ การรรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว, นางสาวเมฆขลา สุริยะ…
การรู้สติ การรรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
เซลล์ประสาท(Neuron) และเซลล์พี่เลี้ยง/เซลล์ค้ำจุน(Neuroglia)
บริเวณประสานประสาท (Synapseสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท หรือเซลล์ประสาทกับเซลล์เป้าหมาย)ไซแนปส์เคมี (Chemical synapse) เป็นไซแนปส์ที่ใช้ สารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาทเป็นตัวสื่อสาร
บริเวณประสานประสาท(Synapse) ตัวรับ(Receptor) และสารสื่อประสาท(Neurotransmitter)สารสื่อประสาท(Neurotransmitter)เป็น สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาท
วิถีประสาท (Nerve Pathway)
เป็นเซลล์ประสาท (นิวรอน) ที่เชื่อมต่อกันเป็นทอดๆเพื่อส่งกระแสประสาทจากส่วนหนึ่งของระบบประสาทไปยังอีกส่วนหนึ่ง
นิวรอนอาจจะเชื่อมต่อกันโดยใยประสาทเพียงเส้นเดียว หรือโดยมัดใยประสาทที่เรียกว่าลําเส้นใยประสาท (tract)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ห่างไกลกันในสมองหรือระ บบประสาทจะเป็นมัดใย ประสาทที่เรียกรวมๆกันว่าเนื้อขาว(white matter)
วิถีประสาทที่เชื่อมส่วนที่ใกล้ๆกันเช่น ในระบบประสาทที่ใช้สารสื่อประสาทโดยเฉพาะๆ (neurotransmitter system) มักจะเรียกว่าเนื้อเทา(greymatter)Lateraltractpathway เกี่ยวกับอุณหภูมิ โดยมี Krause’s copuscle ตัวรับรู้ความเย็นส่วนRuffinitype I ตัวรับรู้การเพิ่มอุณหภูมิ
สายตาสั้น(Myopia;nearsightedness)ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุใกล้ๆ เท่านั้น
สาเหตุกระบอกตายาวมากกว่าปกติกระจกตาโค้งกว่าปกติ มีการหักเหของแสงเพิ่มขึ้น
สายตายาว (Hypermetropia,farsightedness) ภาวะที่มองเห็นเฉพาะวัตถุไกลๆเท่านั้น
สาเหตุ กระบอกตาสั้นกว่าปกติกระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติมีการหักเหของแสงลดลง
สายตาเอียง(Astigmatism) เป็นภาวะที่ผิดปกติของสายตาเนื่องจากมีการหักเหของแสงไม่เท่ากันในมุกแนวระนาบ สาเหตุ กระจกตามีผิวโค้งหรือมีรัศมีความโค้งไม่สม่ำเสมอกันทําให้เกิดการหักเหไม่เท่ากัน
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยา การปรับตัวและความผิดปกติของการรู้สติ การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว และการนอนหลับพักผ่อน
กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ปฏิกิริยาและการปรับตัวของระบบรับความรู้สึก(Sensory system)
ส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS)ทําหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทหรือข้อมูลที่ได้รับจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System: PNS) คือส่วนของระบบประสาทที่แตกแขนงออกมาจากร ะบบประสาท
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เป็นเส้นประสาทที่เกิดจากสมองและก้านสมองโดยตรงตรงข้ามกับประสาทไขสันหลังซึ่งเกิดจากไขสันหลังหลายปล้องประสาทสมองมีเป็นคู่และอยู่ทั้งสองข้างประสาทสมองในมนุษย์มีสิบสองคู่ประสาทปลายประสาทรับกลิ่น (I) และประสาทตา(II)กําเนิดจากสมองใหญ่หรือสมองส่วนหน้าส่วนอีกสิบคู่ที่เหลือกําเนิดจากก้านสมองทําหน้าที่เป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณส่วนใหญ่คือศีรษะและคอประสาทไขสันหลังลงไปถึงกระดูกสันหลังส่วนคอที่หนึ่งและประสาทสมองบทบาทสัมพันธ์กันเหนือระดับนี้
การรับความรู้สึกพิเศษ (Special Sensation)
กลไกของระบบรับควํามรู้สึก ได้แก่ ตัวกระตุ้นจะกระตุ้นตัวรับควํามรู้สึ(sensory receptor)
ในอวัยวะรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับสัมผัส(sensor organ) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอ๊กซอน(AXON)ของปลายประสาทรับความรู้สึกของระบบประสาทส่วนปลาย (Peri pheral nervous system : PNS) จึงทําให้มีการสร้างกระแสประสาท (Nerve Impulse) ส่งต่อเข้ามาในระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system : CNS) ให้แปลผลการรับความรู้สึกนั้นๆ เพื่อการตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้น
ระบบรับความรู้สึก
หน้าที่ของระบบรับความรู้สึก คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มา กระตุ้นร่างกายในรูปแบบ ต่างๆ ซึ่งจะมีผลให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและมีชีวิตอยู่รอดได้
การรับความรู้สึกทั่วไปและการรับความรู้สึกพิเศษ
การรับความรู้สึกทั่วไป (Somatic sensation)หมายถึง การรับความรู้สึกทั่วๆไปของร่างกายทั้ง ภายใน และภายนอก
นางสาวเมฆขลา สุริยะ uda6380006