Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertensive emergency with acute heart failure, O : หายใจเหนื่อยเล็กน้อย…
Hypertensive emergency with acute heart failure
การพยาบาลวันที่ 2
1.ส่งเสริมการหายใจให้มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อร่างกาย
กิจกรรมพยาบาล
1.ประเมิน v/s ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ พื่อประเมินความพร้อมในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลการหย่าเครื่อง ventilator ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อให้ผู้ปวยสามารถหายใจได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
2.2. ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยดูดเสมหะก่อนหย่าเครื่อง และบีบ self–inflating bag 2–3 ครั้ง หรือจนกระทั่งผู้ป่วยหายเหนื่อยจึงเริ่ม wean เริ่มด้วยการลดระดับ CPAP ลงเรื่อยๆ ครั้ง ละ 2-3 cmH2O จนถึงระดับ 5 cmH2O หากผู้ป่วยทนได้ดี ลด CPAP = 0 cmH2O เท่ากับ spontaneous breathing
2.3. ดูแลเพื่อป้องกันปอดแฟบจากการหายใจเองเป็นเวลานาน โดยบีบ self–inflating bag 3–5 ครั้ง/ชั่วโมง
2.1. จัด position ให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 45 องศา เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อกระบังลมเคลื่อนไหวได้ดี
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าช้าๆ และผ่อนลมหายใจออกช้าๆ หรือ deep breathing exercise เพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดี
ขณะทดลองให้ผู้ป่วยหายใจเอง บันทึกข้อมูลการหย่าเครื่องช่วยหายใจในแบบบันทึกข้อมูล (weaning record)
เฝ้าติดตามความสามารถในการหายใจเองใน 30 นาที อย่างน้อย 3 คร้ัง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ให้ยกเลิกการทดลองให้หายใจเอง
ประเมินการหายใจเองของผู้ป่วย เพื่อให้แพทย์พิจารณาแนวทางในการรักษา
6.2 ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถหายใจเองได้นาน 2 ชม. ให้กลับใส่เครื่องช่วยหายใจแบบเดิม และให้ผู้ป่วยพักเป็นเวลา 24 ชม. ให้ผู้ป่วยเริ่มหายใจเองใหม่ในวันต่อไปตามความเหมาะสม และร่วมกับแพทย์ค้นหาสาเหตุเพื่อแก้ไขความไม่พร้อมในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วย
6.1ถ้าผู้ป่วยหายใจเองได้ดีนาน 2 ชม. และ ไม่มีข้อบ่งชี้ให้หยุดการหายใจเอง ให้ปรึกษาร่วมกับแพทย์เพื่อพิจารณาถอดท่อช่วยหายใจ
7.หากมีการล้มเหลวในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในครั้งนี้ ประเมินความพร้อมใหม่อีกครั้ง เมื่อผู้ป่วยมีความพร้อมตามที่เกณฑ์ที่กำหนด ร่วมปรึกษากับแพทย์
2.เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจน การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดเเละการระบายอากาศลดลง
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อร่างกาย
เพื่อเพิ่มตัวนำออกซิเจน
เพื่อเพิ่มการแลกแก๊สและการระบายของปอด
กิจกรรมพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน โดยตั้งค่า ventilator ให้ตรงกับแผนการรักษา setting: A/C mode, RR 16 /min, I:E =1:2, FiO2 0.4 ตรวจดู heated humidifier ไม่ควรเกิน 37 C
2.ประเมิน v/s ทุก 15 ใน 1 ชั่วโมง 30 นาทีใน 1 ชั่วโมงถัดไปทุก 1 ชั่วโมงและ 4 ชั่วโมงเมื่ออาการคงที่โดยให้อยู่ในเกณฑ์ปกติและประเมินอาการผิดปกติ
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง 45 องศา หรือ Fowler’s position เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจ เพิ่มการขยายตัวของปอด
4.แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าช้าๆ และผ่อนลมหายใจออกช้าๆ หรือ deep breathing
Exercise
ดูแลให้ได้รับยา Apresoline (10 mg) 1 tab oral O.D ตามแผนการรักษา ซึ่งยาทำให้กล้ามเนื้อของหลอดเลือดเกิดการคลายตัว ช่วยลดแรงต้านทานภายในหลอดเลือดและส่งผลให้ความดันโลหิตลดลง
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Calcium carbonate (600 mg) 1 tab oral t.i.d.pc ออกฤทธิ์โดยการเข้าไปสร้างสมดุลของเกลือแคลเซียมในกระแสเลือด ทำให้เส้นประสาทกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานได้อย่างเป็นปกติ
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Folic acid (5 mg) 1 tab oral O.D ออกฤทธิ์โดยกรดโฟลิกที่มีความจำเป็นต่อกระบวนการเผาผลาญพลังงานในระบบต่างๆของร่างกาย
ดูเเลให้ได้รับยา Amlodipine (10 mg) 1 tab oral O.D ตามแผนการรักษา โดยยายับยั้งการไหลเข้าของแคลเซียม
ดูเเลการจำกัดน้ำ ดยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ 900 ml/วัน บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก ลักษณะ สี ของปัสสาวะ เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ติดตามผลการตรวจ chest x-ray, CBC,Blood chemistry เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วย รายงาน
แพทย์และวางแผนการรักษา
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับรายได้ในครอบครัว
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยวิตกกังวลลดลง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พูดคุยระบายความรู้สึก
การพยาบาล
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ พูดคุยด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เห็นอกเห็นใจ เปิดโอกาส
2.แนะนำญาติให้ดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและพูดคุยให้กำลังใจบ่อยๆ
แนะนำวิธีผ่อนคลายความเครียด ทำกิจกรรมเบาๆที่ผู้ป่วยชอบทำและสามารถทำได้
3.มีพฤติกรรมดูแลสุขภาพร่างกายไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดความรู้
กิจกรรมพยาบาล
1.อธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพร ทั้งข้อดีและข้อเสีย ผลของการสูบบุหรี่เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและตะหนักผลข้างเคียง
2.แนะนำหลักการใช้สมุนไพรให้ถูกต้องโดยใช้หลัก 5 ถูก และไม่ควรใช้ร่วมกับยาแพงปัจจุบันอะไรบ้าง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างคียง
ถูกต้น
ถูกส่วน
ถูกขนาด
ถูกโรค
ถูกวิธี
3.แนะนำให้ผู้ป่วยสูบบุเลิกบุหรี่
4.แนะนำให้ผู้ป่วยลดการลดดื่มสุรา ไม่ควรเกิน 2 แก้วเป๊ก เพื่อให้เพียงพอต่อร่างกายต้องการ
5.แนะนำให้ผู้ป่วยหากิจกรรมคลายเครียดอื่นๆ เพื่อลดความอยากสูบบุหรี่และดื่มสุรา
วัตุประสงค์
เพื่อให้เพิ่มความรู้เกี่ยวกับ
ผู้ป่วยพฤติกรรมมีพฤติกรรดูแลสุขภาพร่างกายได้อย่างเหมาะสม
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากพฤติกรรมดูแลสุขภาพร่างกายไม่เหมาะสม
การพยาบาลวันที่ 1
Electrolyte imbalance เนื่องจากไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อเพิ่มสมดุล electrolyte ในร่างกาย
กิจกรรมพยาบาล
1.ดูเเลการจำกัดน้ำ โดยให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ 900 ml/วัน
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Furosemide (500 mg) 1/2 tab oral b.i.d ตามแผนการรักษา โดยยาออกฤทธิ์ยับยั้ง pump ดูดเกลือแร่ ทำให้ขับออกไปทางปัสสาวะและดึงน้ำตามออกไป
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Calcium carbonate (600 mg) 1 tab oral t.i.d.pc ออกฤทธิ์โดยการเข้าไปสร้างสมดุลของเกลือแคลเซียมในกระแสเลือด นำไปใช้เพื่อคงความสมดุลของเกลือแร่
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Sodamint (300 mg) 1 tab oral t.i.d.pc ยามีฤทธิ์เป็นด่าง เพื่อปรับเลือดและปัสสาวะให้มีสภาวะเป็นด่าง
5.ประเมินและเฝ้าระวังอาการของภาวะ Electrolyte imbalance
6.แนะนำรับประทานผลไม้ที่มีโพแทสเซี่ยมต่ำ เช่น แอปเปิ้ล ชมพู่ เลี่ยงอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม หมักดอง ของทอด ของมัน กะทิ
-อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง เช่น เครื่องในสัตว์ ไข่แดง เมล็ดถั่ว
-อาหารที่มีโพแทสเซี่ยมสูง เช่น กล้วย ส้ม ผักใบเขียวที่เข้ม อาหารแห้ง
7.แนะนำให้งดสูบบุหรี่ เพราะบุหรี่ทำให้หลอดเลือดในไตตีบและอุดตัน จากความดันโลหิตสูงขึ้น
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ Blood chemistry, U/A, CT whole abdomen
1.มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจน การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดและการระบายอากาศลดลง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะพร่องออกซิเจน 2.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อร่างกาย 3.เพื่อเพิ่มตัวนำออกซิเจน
4.เพื่อเพิ่มการแลกแก๊สและการระบายของปอด
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน setting ventilator: A/C mode, RR 16 /min, I:E = 1:2, FiO2 0.4 ให้ตรงกับแผนการรักษา
2.ประเมิน v/s ทุก 15 ใน 1 ชั่วโมง 30 นาทีใน 1 ชั่วโมงถัดไปทุก 1 ชั่วโมงและ 4 ชั่วโมงเมื่ออาการคงที่และประเมินอาการผิดปกติ
ให้นั่งหรือ Fowler’s position เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจ เพิ่มการขยายตัวของปอด
4.แนะนำให้ผู้ป่วย deep breathing exercise เพื่อเพิ่มการระบายและการขยายของปอด
ดูแลให้ได้รับยา Lasix 40 mg iv stat เป็นยาขับปัสสาวะ เพื่อรักษาอาการบวมและคั่งของน้ำ หากมีอาการผิดปกติ หยุดการให้ยาและรายงานแพทย์
6.ดูแลให้ได้รับยา Dobutamine 2:1 V drip fix rate 5 mcg/min ยามีผล เพิ่ม cardiac output ติดตามอาการ, vital sign หลังให้ยาใกล้ชิดในช่วง 5 นาทีแรกและหลังปรับขนาดทุกครั้ง จากนั้นติดตามทุก 15 นาที 4 รอบ และทุก 30 นาที 2รอบ หลังจากนั้นทุกชั่วโมงตลอดการให้ยา
ดูแลให้ได้รับยา Apresoline (10 mg) 1 tab oral O.D ยาทำให้กล้ามเนื้อของหลอดเลือดเกิดการคลายตัว ช่วยลดแรงต้านในหลอดเลือด สังเกตอาการข้างเคียงผิดปกติ หากพบให้รายงานแพทย์
8.ดูแลให้ได้รับยา Calcium carbonate (600 mg) 1 tab oral t.i.d. pc ยาสร้างสมดุลแคลเซียมในกระแสเลือด ทำให้เส้นประสาทกล้ามเนื้อหัวใจทำงานปกติ สังเกตอาการหลังจากได้รับยา หากพบให้รายงานแพทย์
9.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Folic acid (5 mg) 1 tab oral O.D เสริมการสร้างเม็ดเลือดแดง แนะนำสังเกตอาการหลังได้รับยา ให้บอกทันทีเมื่อมีอาการ
ดูเเลให้ได้รับยา Amlodipine (10 mg) 1 tab oral O.D ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ลดแรงต้านของหลอดเลือดและลดความดันโลหิต สังเกตอาการหลังจากได้รับยา หากพบให้รายงานแพทย์
ดูเเลการจำกัดน้ำให้ได้รับน้ำ 900 ml/วัน บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก ลักษณะ สี ของปัสสาวะ
ติดตามผลการตรวจ chest x-ray, CBC, Blood chemistry
3.ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้เนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
กิจกรรมพยาบาล
2.อธิบายถึงการทำกิจกรรม ทำงานหนัก โดยไม่หยุดพักและโทษของการไม่ออกกำลังกาย
1.แนะผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยออกกำลังกายแบบ passive exercise
3.แนะนำผู้ป่วยเมื่อสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตามปกติไม่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวให้ไม่ควรทำงานท่าเดิมนานๆ เปลี่ยนท่าอิริยาบทต่างๆ
4.เมื่อผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติแนะการยกของที่ถูกวิธี
5.แนะนำให้ผู้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ส่งแสริมกำลังของกล้ามเนื้อ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
3 วันก่อนมาโรงพยาบาล อาการหายใจหอบ ไม่หายแต่เป็นมากขึ้น
จึงไปโรงพยาบาลเวียงแก่น มีอาการปัสสาวะ Hematuria จึงส่งมาโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
1 เดือนก่อนมีอาการหายใจหอบ เสมหะขาว ไปรับยาจากโรงพยาบาล แต่ไม่ได้ทาน ทานยาสมุนไพร
7 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ได้รับการตรวจพบว่าเป็นไตที่โรงพยาบาลในประเทศลาว
อาการสำคัญนำส่งโรงพยาบาล
1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการหายใจหอบมาก
เพศชาย อายุ 38 ปี เชื้อชาติ ลาว สถานภาพ สมรส เรียนจบชั้นประถม 7 อาชีพ ทำไร่ทำสวน
O : หายใจเหนื่อยเล็กน้อย on ETT with ventilator CPAP mode -RR 18-22, O2 Sat 95-99% (on ventilator)