Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอาย - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอาย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของการสูงอาย
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการสูงอายุ
ปัจจัยภายใน
(สุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อ วัฒนธรรม)
ปัจจัยภายนอก
(การศึกษา เศรษฐานะ และ การเกษียณการทำงาน)
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระบบต่างๆ
ระบบประสาท
ขนาดน้ำหนักสมองลดลง
การเชื่อมโยงของเส้นประสาทลดลง
ขนาดของเส้นประสาทลดลง
ประสิทธิภาพการทำงานและประสาทอัตโนมัติลดลง
ความเร็วในการส่งสัญญาณประสาทลดลง
น้ำหล่อเลี้ยงสมองลดลง
สารต่างๆในสมอง ลดลง เช่น
Dopamine = พาร์คินสัน
Serotonin = ซึมเศร้า
Acetylcholine = ขี้ลืม
เซลล์ประสาทลดลง
ระบบตา
ท่อน้ำตาอุดตันทำให้มีน้ำตาในเบ้าตาเพิ่มขึ้น
กล้ามเนื้อควบคุมม่านตาทำงานลดลง
แก้วตามีการสะสมของโปรตีนเพิ่มขึ้น
สามารถแยกสีแดง ส้ม ได้ดีกว่า เขียว ม่วง น้ำเงิน
ระบบการได้ยิน
เซลล์ในหูชั้นในลดลง
เยื่อแก้วหูและอวัยวะในชั้นหูแข็งตัวมากขึ้น
ขี้หูผลิตลดลง แต่มีการสะสมเพิ่มขึ้น
แยกเสียงพูดจากเสียงอื่นๆได้ลดลงสูญเสียการได้ยินระดับเสียงสูงมากกว่าเสียงต่ำ
ระบบหายใจ
ถุงลมมีจำนวนลดลง
ถุงลมที่เหลือมีขนาดใหญ่ขึ้น
ผนังถุงลมบางลง
การแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่สมดุล
เซลล์เยื่อบุประสิทธิภาพลดลง
หลอดลมและปอดมีขนาดใหญ่ขึ้น ความยืดหยุ่นเนื้อปอดลดลงเพราะมีเส้นใยอีลาสตินลดลง
ตอบสนองต่อคาร์บอนไดออกไซด์น้อยลงและคั่งอยู่นาน
ระบบหัวใจ / หลอดเลือด
อัตราการเต้นของหัวใจตอบสนองต่อการเปลี่ยนท่า
ทำให้หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยนท่า
เซลล์ประสาทหัวใจ (เกิดพังผืด) ทำให้หัวใจเต้นพลิ้ว
เลือดเข้าสู้หัวใจห้องล่างซ้ายไม่ดี ทำให้หัวใจบีบตัว
ปริมาณการปั้มเลือดจากหัวใจลดลง
การไหลเวียนเลืือดลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
สุขภาพช่องปากไม่ดี เช่น เหงือกอักเสบ ฟันผุ หลุดร่วงง่ายขึ้น
เยื่อบุปากบาง / ฝ่อ ทำให้มี แผล / ติดเชื้อ
เซลล์กระเพาะอาหารลดลง และ กรดลดลง
ต่อมน้ำลายเสื่อมหน้าที่การผลิตเอ็นไซม์และน้ำลายลดลง
กล้ามเนือ้ หรู ูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวและทางานช้าลง
การเคลื่อนไหวของกระเพาะลดลง
ขนาดของตับลดลง
การย่อยสลายยาลดลง
เลือดเลี้ยงตับลดลง
เซลล์ตับอ่อนลดลงทำให้อาหารไม่ย่อย
ลำไส้ใหญ่บีบตัว ทำให้ท้องผูก
เซลล์ต่อมน้ำเหลืองในผนังลำไส้ลดลง ทำให้อักเสบติดเชื้อ และเป็น มะเร็ง
ระบบปัสสาวะ
ในเพศชายต่อมลูกหมากโต พบ 20% อัณฑะเหี่ยวผลิตอสุจิลดลง
ในเพศหญงิ รังไข่ฝ่ อเลก็ ลง มดลูกเลก็ ลง เย่ือบมุ ดลูกบางลงมีผังผืด ปากมดลูกเหี่ยว
เนื้อไตลดลง 25 %
เซลล์ไตลดลง
ความสามารถในการขับปัสสาวะเข้มข้นลดลง ทำให้ ขับน้ำ / เกลือในช่วงกลางคืนเพิ่มขึ้น
ระบบกล้ามเนื้อ
จำนวนและขนาดเส้นใยกล้ามเนื้อลดลง
มวลกล้ามเนื้อลดลง
กำลังการหดตัวลดลง
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
ระบบกระดก
มวลกระดูกลดลง
กระดูกพรุนเพิ่มขึ้น
เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักเพิ่มขึ้น
ส่วนสูงลดลง
ระบบการรับรู้อ่ืนๆ
การรับรสลดลง 50% ทำให้ความอยากอาหารลดลง กินอาหารเค็มมากขึ้น
การรับกลิ่นลดลง
ความรู้สึกกระหายลดลง เหลือ 25 %
ดื่มน้ำน้อย ร่างกายแห้ง ท้องผูก
ระบบโลหิตวิทยา
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทั้งระบบ CMI และ ระบบ HI ทำงานลดลง
การสร้างเม็ดเลือดแดงลกลง ทำให้เป็นโลหิตจาง
ไขกระดูกฝ่อ ทำให้เม็ดเลือดและเกล็ดเลือดต่ำ
ระบบผิวหนัง
ต่อมเหงื่อลดลง
ความร้อนในร่างกายเพิ่มขึ้น
เส้นเลือดฝอยลดลง
อาการแสดงของการอักเสบลดลง
ต่อมไขมันลดลง
ผิวแห้งเพิ่มขึ้น
ผิวหนังบางลง เซลล์ผิวหนังลดลง
ระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนหลั่งอินซูลินลดลง
เนื้อเยื่อในร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินน้อยลง
ระดับกลูคากอนลดลง
ดูดซึมกลูโคสไม่ดี
เบาหวานเพิ่มขึ้น
ระดับบ้ำตาลเพิ่มขึ้น
ต่อมเพศทำงานลดลง
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอาย
กล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกเสื่อม
กระดูกพรุน
กระดูกหัก
ระบบหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
ระบบการไหลเวียนโลหิต
เส้นเลือดในสมองตีบ / แตก / ตัน
เส้นเลือดหัวใจตีบ
ระบบสมอง
พาร์คินสัน
สมองเสื่อม
สับสน
ซึมเศร้า
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
อารมณ์
กลัวถูกทอดทิ้ง
ขาดความมั่นใจในตนเอง
สูญเสียความคุ้นเคย
นิสัย
เก็บตัวอยู่ในบ้าน
คิดว่าตนไม่มีประโยชน์
ไม่นึก
สนุกสนาน
ซึมเศร้า ขี้น้อยใจ
ความทุกข์ใจ
คิดถึงอดีต
คิดถึงปัจจุบัน
คิดถึงอนาคต
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททาง
สังคม
การสูญเสียบทบาทในการเป็นผู้นำครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง
ลูกหลานไปทำงานนอกบ้านไม่มีเวลาเอาใจใส่ ทำให้มีปัญหาซึมเศร้า
การเสื่อมความเคารพ
คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถ
น้อยลง และคิดว่าผู้สูงอายุไม่ทันต่อเหตุการณ์
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจในผู้สูงอายุ
ศักยภาพด้านการแสดงออกทางอารมณ์
ได้รับการอบรมเลี้ยงดูมา
มุมมองด้านบวกเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ความรู้สึกมีคณุค่าในตนเอง (self esteem)
หมายถึง รับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า นำไปสู่ความเชื่อมั่นในตัวเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ และ ตนในอุดมคติ
ปัจจัยที่ส่งผลให้ความรู้สึกมีคุณค่าในตัวลดลง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในวัยสูงอาย
การมีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง
การมีภาวะพึ่งพาเพิ่มมากขึ้น
ความสามารถในการดูแลตนเองบกพร่อง
ไม่สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมได้
บคุลิกภาพ (Personality)
บุคลิกภาพไม่เปลี่ยนแปลงตามกระบวนการสูงอายุ
บุคลิกภาพจะมั่นคงเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น
มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ภาวะซึมเศร้า
การสูญเสียนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า
มีภาวะซึมเศร้ามักมองตัวเองในด้านลบ
ศักยภาพด้านการเรียนรู้
ความฉลาด (Intelligent)
สามารถแก้ไ้ขปัญหาได้
อย่างสร้างสรรค์
ความฉลาดจะลดลงเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น
ความจำ (Memory)
ระลึกสิ่งต่างๆที่ทำแต่ละวันได้
จำเรื่องราวในอดีตได้
การเรียนรู้ (Learning)
รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงใจ ที่เป็นสิ่งแปลกใหม่
การสังเคราะห์สารสนเทศชนิดต่าง ๆ
การเรียนรู้ของบุคคลจะเริ่มลดลงประมาณ อายุ 40-50 ปี
ช่วงความสนใจ (Attention span)
การเบี่ยงเบน หรือขาดความตั้งใจในผู้สูงอายุ
ความพร่องในการคงไว้ซึ่งความตั้งใจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Changes)
การเกษียณอายุจากงาน (Retirement)
การเปลี่ยนแปลง
บทบาทในการทำงานมาจากการเกษียณอายุ
การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาหลังเกษียณ
ปัญหาการเงิน ขาดความพึงพอใจในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่า
ในตนเอง และขาดเพื่อน
การเป็นหม้าย (Widowhood)
การสูญเสียคู่สมรสเป็นประสบการณ์ชีวิตที่สร้างความเครียดให้ผู้สูงอายุ
ความโดดเดี่ยว ความเหงา (Loneliness)
ไม่ได้รับ
ความอบอุ่น สุขสบายจากบุคคลคนอื่น
เกิดความทุกข์และไม่สบายใจ
Role change (role reversal)
เปลี่ยนแปลงตามกระบวนการสูงอายุ
มีความสัมพันธ์กับบทบาทการทำงาน
บทบาทของคู่สมรส
มีการสูญเสียหลากหลายด้าน Multiple losses
สูญเสียความสามารถทางร่างกาย จิตใจ สังคม
ส่งผลต่อ
ความสามารถในการปรับตัวด้านร่างกายและการปรับจิตใจ
บทบาทพยาบาลในการดูแลด้านจิตสังคม
การประเมินภาวะจิตสังคม
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมด้านจิตใจ
ให้ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง
ส่งเสริมสนับสนุนให้ฝึกแก้ปัญหา
ส่งเสริมกิจกรรมการคำนวณ
สนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์
สนับสนุนให้ค้นหาศักยภาพใหม่ๆ
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะ
ความจำสั้น หรือ สูญเสียความจำ
ทบทวนวัน เวลา สถานที่ บ่อยๆ
พูดหรือสื่อสารด้วยคำง่ายๆ
พูดซ้ำหลายๆ รอบ
อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นให้ชัดเจนบ่อยๆ
เมื่อผู้สูงอายุไม่เข้าใจ
บอกเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะปฏิบัติ
ต่อผู้สูงอายุทุกครั้ง
สังเกตภาวะสับสน