Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
1.ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สุงอายุ
1.1 ปัจจัยภายใน : สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
1.2 ปัจจัยภายนอก : การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการทำงาน
1.ปัญหาด้านสุขภาพกาย
2.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
1.3 ปัญหาด้านความรู้
1.4 ปัญหาด้านสังคม
1.5ปัญหาด้านจิตใจ
1.6 ปัญหาเก่ยวกับครอบครัว
1.7 ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
2.การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
2.1 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย (Physiological change)
2.1.1 ระบบประสาท
-เซลล์ประสาทลดลง
-ขนาด น้ำหนักสมองลดลง
-ขนาดเส้นประสาทลดลง
-สารต่างๆในสมองลดลง
2.1.2 ระบบตา
-ท่อน้ำตาอุดตันทำให้มีน้ำตาในเบ้าตาเพิ่มขึ้น
-กล้ามเนื้อควบคุมม่านตาทำงานลดลง
-แก้วตามรการสะสมของโปรตีนเพิ่มขึ้น
2.1.3 ระบบการได้ยิน
-หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหูชั้นในเกิดภาวะแข็งตัว มีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะและการเคลื่อนไหวไม่คล่องตัว
-เซลล์ในหูชั้นในลดลง
-ขี้หูผลิตลดลง แต่มีการสะสมเพิ่มขึ้น
-เยื่อแก้วหูและอวัยวะในหูชั้นในแข็งตัวมากขึ้น
2.1.4 ระบบหายใจ
-ถุงลมมีจำนวนลดลง ถุงลมที่เหลือมีขนาดใหญ่ขึ้น ผนังถุงลมบางลง
-การแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่สมดุล
-เซลล์เยื่อบุ (cilia) ประสิทธืภาพลดลง
-หลอดลมและปอดมีขนาดใหญ่ขึ้น ความยืดหยุ่นเนื้อปอดลดลงเพราะมีเส้นใยอีลาสตินลดลง
2.1.5 ระบบหัวใจ/หลอดเลือด
-อัตราการเต้นของหัวใจตอบสนองต่อการเปลี่ยนท่า
-เซลล์ประสาทหัวใจ (เกิดพังผืด)
-เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้ายไม่ดี
-ปั้มปริมาณเลิอดจากหัวใจลดลง
-การไหลเวียนเลือดลดลง
2.1.6 ระบบทางเดินอาหาร
-สุขภาพช่องปากไม่ดี
-เยื่อบุปากบาง/ฝ่อ
-เซลล์กระเพาะอาหารลดลง กรดลดลง
-ต่อมน้ำลายเสื่อมหน้าที่การผลิตเอ็นไซม์และน้ำลายลเลง
-กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวและทำงานช้าลง
-การเคลื่อนไหวของกระเพาะดลง
-การดลงของกรดเกลือ
2.1.7 ระบบปัสสาวะ
-ในเพศชาย ต่อมลูกหมากโต พบ 20% อัณฑะเหี่ยวผลิตอสุจิลดลง
-ในเพศหญิง รังไข่ฝ่อเล็กลง มดลูกเล็กลง เยื่อบุมดลูกบางลงมีผังผืด
-เนื้อไตลดลง 25% เซลล์ไตลดลง
2.1.8 ระบบกล้ามเนื้อ
-จำนวนและเส้ยใยกล้ามเนื้อลดลง มีเนื้อเยื่อพังผืด มวลกล้ามเนื้อลดลง กำลังหดตัวลดลง
-ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
2.1.9 ระบบกระดูก
-มวลกระดูกลดลง
-กระดูกพรุนในเพศหญิง
-ส่วนสูงลดลง
2.1.10 ระบบการรับรู้อื่นๆ
-การรับรส 50% ลดลง
-การรับกลิ่นลดลง
-ความรู้สึกกระหาย 25% ลดลง
2.1.11 ระบบโลหิตวิทยา
-ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทั้งระบบลดลง ติดเชื้อได้ง่าย
-การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
2.1.12 ระบบผิวหนัง
-ต่อมเหงื่อลดลง
-ความร้อนในร่างกายเพิ่มขึ้น
-เส้นเลือดฝอยลดลง
-ผิวแห้งมากขึ้น ทนต่อความหนาวเย็นได้ลดลง
2.1.13 ระบบต่อมไร้ท่อ
-ตับอ่่อนหลั่งอินซูลินลดลง
-ต่อมเพศทำงานลดลง
-ต่อมธัยรอยด์ มีเนื้อเยื่อพังผืดสะสมมาก
2.2 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ (Psychological change) ในวัยสูงอายุ
ศักยภาพด้านการแสดงออกทางอารมณ์ (Affective functionting)
1.ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (self esteem) ความรู้สึกที่บุคคลรับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า นำไปสู่ความเชื่อมั่นในตนเองและการยอมรับนับถือตนเอง เป็นผลจากการประเมินตนเองโดยภาพรวมในด้านความสามารถ ความสำคัญ และความสำเร็จของตนเอง แสดงออกมาในรูปแบบของทัศนคติในแง่บวกที่มีต่อตนเอง
ปัจจัยที่ส่งผลให้ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง (self-esteem) ลดลง
-กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
-ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในวัยสูงอายุ
-การมีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง
-การมีภาวะพึ่งพาเพิ่มมากขึ้น
-ความสามารถในการดูแลตนเองบกพร่อง
-ไม่สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อมได้
2.บุคลิกภาพ (Personality)
-บุคลิกภาพไม่เปลี่ยนแปลงตามกระบวนการสูงอายุ
-บุคลิกภาพจะมั่นคงเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น
-มีพื้นฐานมาตั้งแต่วัยเริ่มต้นของชีวิตโดยมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
3.ภาวะซึมเศร้า
-Depression occurs 16-65% of elders living in the community.
-การสูญเสียนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า
-ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้ามักมองตนเองในด้านลบ มองเห็นคุณค่าในตนเองต่ำลง
ศักยภาพด้านการเรียนรู้ (Cognitive functioning)
1.ความฉลาด (Intelligent) -ความสามารถในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ผ่านกระบวนทางความคิด เพื่อหาคำตอบได้อย่างหลากหลายวิธี -ความฉลาดจะลดลงเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น
2.ความจำ (Memory)
-ความจำเรื่องราวในปัจจุบัน (recent memory) ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ภายในเวลาไม่นาน
-ความจำเรื่องราวในอดีต (remote memmory) ความสามารถที่จะจำเรื่องราวที่ผ่านมาหลายๆปี
3.การเรียนรู้ (Learning) การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงพอใจ ที่เป็นสิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่ และอาจเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์สารสนเทศชนิดต่างๆ
4.ช่วงความสนใจ (Attention span) -Vigilance perfoemance ความสามารถในการคงไว้ซึ่งความตั้งใจในการเรียนรู้มากกว่า 45 นาที มีลักษณะลดลงในผู้สูงอายุ
2.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Changs)
1.การเกษียณอายุจากงาน (Retirement) -A change in work role comes with retirement. การเปลี่ยนแปลงบทยาทในการทำงานมาจากการเกษียณอายุ
2.การเป็นหม้าย (Winowhood) -เป็นเหตุการณ์ปกติของชีวิตมนุษย์เนื่องจากสูญเสียคู่สมรส
3.ความโดดเดี่ยว ความเหงา (Loneliness)
-Loneliness เป็นความรู้สึกถูกแบ่งแยก ไม่ได้รับความอบอุ่น สุขสบายจากบุคคลคนอื่น
-ขึ้นอยู่กับสัมพันธภาพของผู้สูงอายุกับคนรอบข้าง
4.Role change (role reversal)
5.มีการสูญเสียหลากหลายด้าน (Multiple losses)
บทบาทพยาบาลในการดูแลด้านจิตสังคม
1.การประเมินภาวะจิตสังคม
2.การพยาบาลเพื่อส่งเสริมด้านจิตใจ
3.การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะความจำสั้น หรือ สูญเสียความจำ
4.Nursing intervention when teaching an older person new information
5.Nursing role to increased self-esteem
6.Nursing intervention that foster positive personality traits in elderly
7.Adjusting to retirement
8.Find a new role
9.Facilitating maximum independence
10.Intervention that promotes social support