Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
1. ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
1.1 ปัจจัยภายใน
สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
1.2 ปัจจัยภายนอก
การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการทำงาน
1.3 ปัญหาทางด้านความรู้
ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับวัย และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและเพื่อให้เข้ากันได้กับเยาวชนรุ่นใหม่
1.4 ปัญหาทางด้านสังคม
ผู้สูงอายุอาจจะไม่ได้รับการยกย่องจากสังคมเหมือนเดิม โดยเฉพาะผู้ที่เคยเป็นข้าราชการตำแหน่งสูงซึ่งเคยมีอำนาจและบริวารแวดล้อม เมื่อเกษียณอายุราชการอาจเสียดายอำนาจ และตำแหน่งที่เสียไป
1.5 ปัญหาทางด้านจิตใจ
ผู้สูงอายุจะไม่ได้รับความเอาใจใส่และความอบอุ่นจากลูกหลานอย่างเพียงพอ ทำให้รู้สึกว้าเหว่ อ้างว้างและอาจจะมีความวิตกกังวลต่าง ๆ
1.6 ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ในเขตเมืองจะเป็นครอบครัวเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ ลูกหลานจะมาทำงานในเขตเมืองทิ้งพ่อแม่ให้เฝ้าบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่ได้รับการดูแลและได้รับความอบอุ่นดังเช่นอดีตที่ผ่านมา
1.7 ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
ปัจจุบันความเปลี่ยนแปลงจากภาวะทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้เยาวชนมีความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์น้อยลง ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลต้องอาศัยสถานสงเคราะห์
2. การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
2.1 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย (Physiological change)
ระบบผิวหนัง
เซลล์ผิวหนัง
ลดลงความยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี ผิวหนังเหี่ยวและมีรอยย่น
กระบวนการผลัดเซลล์ผิวหนังมีระยะเวลายาวนานขึ้น กระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ผู้สูงอายุมีการฟื้นหายของแผลช้าลง ไขมันใต้ผิวหนังลดลงทำให้ร่างกายทนต่อความหนาวเย็นได้น้อยลง ต่อมเหงื่อเสียหน้าที่ไม่สามารถขับเหงื่อได้จึงเกิดอาการลมแดดได้ง่าย
ระบบประสาทและประสาทสัมผัส
มี 3 ระบบ ดังนี้
ระบบประสาทส่วนกลาง
การสูญเสียหน้าที่ในการเชื่อมต่อของประสาทขนาดของสมองลดลง น้ำหนักสมองลดลง ประมาณร้อยละ 20 เมื่ออายุ 90 ปี จำนวนเซลล์สมอง และเซลล์ประสาทลดลง และมีการเสื่อมของเซลล์ประสาทประมาณ 1 แสน เซลล์/วัน
ระบบประสาทส่วนปลาย
ทั้งการสั่งการ (Motor) รับความรู้สึก (Sensory) และตอบสนอง (Reflexes) ลดจำนวนลง ประสาทรับความรู้สึก (Sensory receptors) เกิดการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพการทำงานของสมองน้อยลง
ระบบประสาทอัตโนมัติ
มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใน Basal ganglia ทำให้การตอบสนองของระบบประสาทอัตโนมัติช้าลง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
จำนวนและขนาดเส้นใยของกล้ามเนื้อลดลงกำลังการหดตัวของกล้ามเน้อลดลง การเคลื่อนไหวใน
ลักษณะต่างๆไม่คล่องตัว กระดูกมีน้้ำหนักลดลง เพราะแคลเซียมสลายออกจากกระดูกมากขึ้น
ระบบการไหลเวียนเลือด
ขนาดของหัวใจอาจโตขึ้น ผนังหัวใจห้องล่างซ้ายหนาขึ้น ลิ้นหัวใจแข็งและหนาขึ้น มีแคลเซียมมา
เกาะมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะลิ้นหัวใจรั่วและตีบได้ ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง กำลังการหดตัวและอัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
ความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจลดลง ผนังทรวงอก
แข็งขึ้น ขยายตัวได้น้อยลง เยื่อหุ้มปอดแห้งการขยายและการหดตัวของปอดลดลง ทำให้เกิดอาการหายใจลำบาก จำนวนถุงลมลดลงแต่ขนาดใหญ่ขึ้น ผนังถุงลมแตกง่ายจงเกิดโรคถุงลงโปุงพองได้
ระบบทางเดินอาหาร
ฟันของผู้สูงอายุเคลือบฟ๎นจะมีสีคล้ำขึ้นและบางลงแตกงาย เซลล์สร้างฟันลดลง ฟันผุง่ายขึ้น ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุจึงไม่ค่อยมีฟัน ต้องใส่ฟันปลอม ต่อมน้ าลายท างานน้อยลงการผลิตน้ำลายและเอนไซม์ลดลง
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
น้้ำหนักและขนาดของไตลดลง การไหลเวียนเลือดในไตลดลงอัตราการกรองของไตลดลงขนาดของกระเพาะปัสสาวะลดลงกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะอ่อนกำลังลง
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมธัยรอยด์มีพังผืดมาจับสะสมอยู่มากทำให้การทำงานของต่อมลดลง ส่วนต่อมพาราธัยรอยด์จะทำงานลดลง สร้างฮอร์โมนพาราธัยรอยออกมาได้ แต่การทำงานของฮอร์โมนจะ
เพิ่มขึ้นในวัยสูงอายุ เพราะระดับเอสโตรเจนซึ่งออกฤทธิ์ต้านการทำงานของฮอร์โมน
2.2 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
(Psychological change) ในวัยสูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุ ได้แก่
การเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู้ ซึ่งสันนิฐานว่ากลไกการเกิดประกอบด้วย 4 อย่างคือ ข้อมูลที่อยู่ในกระบวนการ การทำหน้าที่เกี่ยวกับการจดจำของสมอง ข้อจำกัดในการทำหน้าที่ของสมอง และการทำหน้าที่ของประสาทรับความรู้สึก
2.3 การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม (Sociology change) ในวัยสูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ในชีวิตที่เกิดขึ้นทำให้ผู้สูงอายุเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม ซึ่งอาจมี
ผลทำให้ผู้สูงอายุค่อยๆ ถดถอยออกจากสังคม เนื่องจากต้องการลดบทบาทของตนเองให้น้อยลง หรืออาจจะ
เกิดจากแรงกดดันจากสังคม ม การสูญเสียคู่ชีวิต การเกษียณอายุงานที่ลดลง การเข้าร่วมกิจกรรมหรือการถอย
ห่างออกจากกิจกรรมของผู้สูงอาย