Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการพยาบาล, นางสาวภิญญารัตน์ …
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการพยาบาล
ปัญหาระบบกระดูกและฮอร์โมน
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis; OA)
ชนิดของโรคข้อเสื่อม
ข้อเสื่อมชนิดปฐมภูมิ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติของอายุ ประวัติครอบครัวมีส่วนเกี่ยวของกับการเกิดโรคข้อเสื่อม
ข้อเสื่อมชนิดทุติยภูมิ การอักเสบของข้อ
จากการประกอบอาชีพ/จากการเล่นกีฬา
มักเกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
พยาธิสรีรวิทยา
กระดูกอ่อนผิวขอเสื่อมจะมีลักษณะเหลืองขุน ผิวขรุขระมีรอยแตก
บางครั้งเศษกระดูกที่หลุด จะเข้าไปในน้้ำไขขอ
การตรวจวินิจฉัย
อาศัยอาการทางคลินิก ร่วมกับผลทางห้องปฏิบัติการร่วมกับภาพถ่ายรังสีข้อเข่า
การรักษา
การรักษาที่ไม่ใช้ยา ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องโรคและการดูแลรักษา
การออกกำลังกาย เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อรอบให้ข้อแข็งแรง
การใส่อุปกรณ์พยุงข้อเข่า และการรักษาอื่นๆ ได้แก่ การนวด
การรักษาที่ใช้ยา ลดอาการปวดและการอักเสบของข้อ ได้แก่ ยาพารา
เซตามอล ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช้สเตียรอยด์ ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์ ยาทาเฉพาะที่ ยาฉีดคอร์ติโคสเตียรอยด์การผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุเข้าใจธรรมชาติของโรค
พักการใช้ข้อ โดยเฉพาะในระยะที่มีการอักเสบ
การใช้ยาในการรักษาตามอาการ
ป้องกันอันตรายต่อข้อ
ลดน้ำหนักหากมีน้ำหนักมาก
การผ่าตัด
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
ชนิดของโรคกระดูกพรุน
ปกติ (Normal)
มวลกระดูกต่ำ
กระดูกพรุน
กระดูกพรุนระดับรุนแรง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ กรรมพันธุ์ เชื้อชาติ และเพศ
2) ปัจจัยด้านพฤติกรรม ได้แก่ การได้รับcalcium จากอาหารไมเพียงพอ การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา
3) ปัจจัยเสี่ยงเพิ่มเติม ได้แก่ สายตาผิดปกติ สมองเสื่อม หกลมมาไม่นาน สุขภาพอ่อนแอ
การตรวจวินิจฉัย
ประวัติส่วนตัว : เกี่ยวกับกระดูกหักในวัยผู้ใหญ่ ประวัติกระดูกหัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การเกิดโรคกระดูกพรุนเกี่ยวของกับมวลกระดูกที่ลดลง
ผลกระทบของภาวะกระดูกพรุน
กระดูกสะโพกหัก และกระดูกสันหลังยุบ
การรักษา
การรักษาด้วยการไม่ผ่าตัด การรักษาด้วยการผ่าตัด ประกอบด้วย
-การยึดตรึงกระดูก
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแบบครึ่งข้อ
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
กิจกรรมการพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ
การออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก
การใช้ยาในการรักษา ได้แก่ calcium Vit D
การลดปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ การงดดื่มกาแฟ การงดสูบบุหรี่หรือดื่ม alcohol
ระวังการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ
ชนิดของโรคเบาหวาน
1) เบาหวานชนิดที่ 1 ส่วนใหญ่เกิดจากมีการทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อนทำให้เกิดการขาดอินสุลินโดยสิ้นเชิงชนิดนี้มีอาการทางคลินิกเกิดขึ้นชัดเจน รวดเร็ว สามารถพบได้ทุกวัยส่วนมากเป็นในเด็ก
2) เบาหวานชนิดที่ 2 ชนิดนี้เกิดจากการขาดอินสุลิน แต่ไม่รุนแรงเท่าชนิดที่ 1 ร่วมกับมีภาวะดื้อต่อการออกฤทธิ์ของอินสุลิน และมีการสร้างกลูโคสจากตับเพิ่มขึ้น
3) เบาหวานชนิดที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ ซึ่งมีโอกาสพบได้น้อย ได้แก่
เบาหวานที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของการทำงานของเบต้าเซลล์
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
1) ค่า FPG มากกว่าหรือเท่ากับ 126 มก./ดล.
2) ค่า casual plasma glucose มากกว่าหรือ
เท่ากับ 200 มก./ดล. ร่วมกับมีอาการของโรคเบาหวาน
3) plasma glucose ที่ 2 ชั่วโมง หลังจากทำ OGTT
มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล
สาเหตุและปัจจัยการเกิดโรคเบาหวาน
1) ความผิดปกติของตับอ่อน ผนังหลอดเลือดที่แข็งและหนาขึ้น ทำให้ความต้านทานของเยื่อหุ้มเซลล์สูง
อินสุลินซึมผ่านได้น้อยหรือไม่สามารถซึมผ่านได้สมรรถภาพในการทำงานของตับอ่อนลดลง
2) ความผิดปกติของเซลล์เป้าหมาย (target cell) มีอินสุลินอยู่ในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากมีการสร้างและหลั่งอินสุลิน จากตับอ่อนมากขึ้นเพื่อเอาชนะภาวะดื้ออินสุลิน
3) การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ได้แก่ ฮอร์โมน glucocorticoid glucagons catecholamine, growth hormone
4) กรรมพันธุ์
5) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
6) ยาและสารเคมีบางอย่าง นี้ ได้แก่ glucocorticoid, thiazides,phenytoin
7) สิ่งแวดล้อม อาจจะเป็นแบคทีเรีย ไวรัส หรือสารเคมีบางชนิด
8) ปัจจัยและสาเหตุอื่นๆ เช่น ความอ้วนกับการรับประทานมากเกินไป
อาการและอาการแสดง
ของโรคเบาหวาน
1) ปัสสาวะบ่อย จำนวนมาก
2) คอแห้ง กระหายน้ำ และดื่มน้ำมาก
3) น้ำหนักลด ผอมลง
4) หิวบ่อย รับประทานอาหารจุ
การรักษาโรคเบาหวาน
1) อาหาร การควบคุมอาหารในผู้สูงอายุ
2) การออกกำลังกาย เป็นการเพิ่มความไวของอินสุลิน
3) การใช้ยาลดน้ำตาล ยาเม็ดลดน้ำตาล นิยมใช้ยาในยุคที่ 2 เช่น glipizide glybenclamide
4) การให้ความรู้ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจโรคเบาหวาน
ปัญหาความบกพร่อง
ด้านการสื่อสาร
ปัญหาการมองเห็น
ต้อกระจก (Cataract)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่ เกิดจากภาวะเสื่อมตามวัย
ส่วนน้อยอาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ
เช่น เป็นมาแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
ตามัวลงช้าๆ โดยไม่รู้สึกเจ็บปวด
มองเห็นภาพซ้อน
สายตาสั้นลง
รูม่านตาจะเห็นขุ่นขาว
การวินิจฉัย
การตรวจพบแก้วตาขุ่นขาว เวลาใช้ไฟส่อง
ตาผู้ป่วยจะรู้สึกตาพร่า การใช้เครื่องส่องตา
ตรวจตาจะไม่พบปฏิกิริยาสะท้อนสีแดง
การรักษา
Extracapsular Cataract Extraction (ECCE)
Intracapsular Cataract Extraction (ICCE)
Extracapsular Cataract Extraction with Intraocular Lens (ECCE c IOL)
Phacoemulsification with Intraocular
Lens ( PE c IOL)
อาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต้อกระจก
ความดันลูกตาสูง
การดึงรั้งของแผลเย็บ
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา
การติดเชื้อ
5.vetreous prolapse
6.ท่อทางเดินน้ าตาเกิดการติดเชื้อ
ต้อหิน (Glaucoma)
ชนิดของต้อหิน
1) ต้อหินปฐมภูมิ เกิดจากความผิดปกติของทางเดินน้ำเลี้ยงภายในลูกตา
2) ต้อหินทุติยภูมิ ต้อหินที่เกิดตามหลังโรคตาบางโรค
3) ต้อหินโดยกำเนิด ต้อหินที่พบได้ตั้งแต่แรกเกิด
อาการของโรคต้อหิน
เห็นแสงรุ้งรอบดวงไฟ มีอาการมากตอนเช้า ตาแดง ตามัวและตาบอดในที่สุด
การตรวจวินิจฉัย
วัดลานสายตา
วัดความดันภายในลูกตา
การตรวจลานสายตา
การตรวจมุมม่านตา
โรคตาแห้ง (dry eye)
มักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
เริ่มเมื่อวัยกลางคน
เกิดจากการผลิตน้ำตาที่น้อยลง
ผู้ป่วยจะมีอาการเคือง
เหมือนมีฝุุนผงในตา
การรักษา
การดูแลตัวเอง หลีกเลี่ยงลม ฝุุ่น
ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ
เกิดจากความผิดปกติของกลไก 2 ส่วน
ส่วนนำเสียงและขยายเสียง ได้แก่ หูชั้นนอกและหูชั้นกลาง
ส่วนประสาทรับเสียง ได้แก่ ส่วนของหูชั้นในไปจนถึงสมอง
ผลกระทบที่เกิดจากการสูญเสียการได้ยิน
ต้องเผชิญกับ ความทุกข์ วิตกกังวล ซึมเศร้า แยกตัว
ออกจากสังคม มีความเหงา ความมั่นใจในตนเองลดลง
ต้องการพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม
การพยาบาล
ควรมีการตรวจหูผู้สูงอายุและคัดกรอง
ผู้สูงอายุที่มีการสูญเสียการได้ยินจะมีความยากลำบากในการสื่อสารพยาบาลควรให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแล
ในรายที่ตรวจพบภาวะขี้หูอุดตัน ควรส่งต่อไปพบแพทย์
หรือพยาบาลผู้ชำนาญการ
ควรแนะนำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิคสูง
แนะนำให้ผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังต่างๆ ควบคุมโรคให้ดี
แนะนำให้มีการดูแลรักษาสุขอนามัยของหูอย่างถูกวิธี
ปัญหาความผิดปกติ
ในการขับถ่าย
ต่อมลูกหมากโต
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติเมื่อมีอายุมากขึ้น
ปริมาณของ Testosterone
อาการของโรคต่อมลูกหมากโต
ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะกลางดึก
สายปัสสาวะไม่พุ่ง ไหลช้า
เกิดความรู้สึกว่าการขับถ่าย
ปัสสาวะเป็นเรื่องวุ่นวาย
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้
5.ต้องเบ่ง
6.รู้สึกปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะบ่อย
การรักษาต่อมลูกหมากโต
-แนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-ให้กินยา ซึ่งเป็นยาลดอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อ
-ทำการรักษาด้วยการผ่าตัด
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ชนิดของภาวะกลั้น
ปัสสาวะไม่ได้
Stress incontinence
Urge incontinence
Overflow incontinence
Functional incontinence
การจัดการการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
การจัดการโดยใช้พฤติกรรมบำบัด
การจัดการโดยการใช้ยา
การสวนปัสสาวะตามเวลาแบบสะอาด
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออก
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเบี่ยงทางไหลของปัสสาวะ
ปัญหาระบบประสาท
ภาวะสมองเสื่อม
(Dementia)
สาเหตุที่พบส่วนใหญ่
โรคอัลไซเมอร์
โรคสมองเสื่อมจากปัญหาโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อเรื้อรังบางชนิด
การใช้สารพิษหรือยาเสพติด
ภาวะพร่องฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
โรคอื่นๆที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาท
การรักษาภาวะสมองเสื่อม
การรักษาโดยการใช้ยา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
พาร์กินสัน (Parkinson)
อาการ
1.อาการสั่น
2.อาการเคลื่อนไหวช้า
3.อาการแข็งเกร็ง
4.การทรงตัวไม่สมดุล
การรักษา
เป็นการรักษาตามอาการ มี 3 วิธี
คือ รักษาทางยา กายภาพบeบัดและการผ่าตัด
การปฏิบัติการพยาบาล
การดูแลส่วนใหญ่ ช่วยให้สามารถปฏิบัติภารกิจประจำวันได้
วางแผนการดูแลประจำวัน
การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยจะช่วยให้ร่างกายทำหน้าที่ได้ดีขึ้น
การรับประทานยา
การให้อาหาร เป็นอาหารอ่อนเคี้ยวง่าย
การฝึกพูด เพื่อให้กล้ามเนื้อต่างๆ ได้ออกแรง
การดูแลทางด้านจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ปัจจัยด้านจิตสังคมและสิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
1.ด้านร่างกาย หายใจลำบาก ใจสั่น ปวดท้อง หลับยาก
2.ด้านจิตสังคม มีอารมณ์เศร้า กลัว มองอนาคตในแง่ร้าย
การรักษา
การบำบัดรักษาทางชีววิทยาการแพทย์
รักษาด้วยยาต้านเศร้า
การบำบัดทางจิตสังคม
2.1 การให้คำปรึกษา
2.2 การทำกลุ่มจิตบำบัด
2.3 การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม
2.4 การบำบัดโดยการแก้ปัญหา
2.5 การบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
นางสาวภิญญารัตน์ เปลี่ยนจันทึก 621201145