Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . ๒๕๓๔, นางสาวสาธิตา …
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ . ศ . ๒๕๓๔
ส่วนที่ ๒ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
หมวด ๑ จังหวัด
มาตรา ๕๖ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดให้รองผู้ว่าราชการเป็นผู้รักษา
ราชการแทนถ้าไม่มีรองผู้ว่า ให้ผู้ช่วยผู้ว่าราชการเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๗ ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่
มาตรา ๕๕ นอกจากจะมีผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วให้มี
ปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๕๘ การยกเว้น จำกัดหรือตัดทอนอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการ
จะกระทำได้โดยตราพระราชบัญญัติ
มาตรา ๕๔ จังหวัดหนึ่งให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดรับ
นโยบายและคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
มาตรา ๕๙ ให้นำความในมาตรา ๔๘ และ ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการ
แทนและผู้ปฏิบัติราชการแทนตามหมวดนี้
มาตรา ๕๓ จังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรรมการจังหวัด
เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการ
บริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๖๐ ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัด เป็น สำนักงานจังหวัดและ
ส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมได้ตั้งขึ้น
มาตรา ๕๒ ให้รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอ
ตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
หมวด ๒ อำเภอ
มาตรา ๖๔ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง
ปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการตามระเบียบของการเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๖๕ นายอำเภอมีอำนาจและหน้าที่
มาตรา ๖๓ นอกจากจะมีนายอำเภอแล้วให้มี
ปลัดอำเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ
มาตรา ๖๖ ให้แบ่งส่วนราชการของอำเภอ เป็น สำนักงานอำเภอและส่วนต่าง ๆ ที่ได้
ตั้งขึ้นในอำเภอนั้น
มาตรา ๖๒ อำเภอหนึ่งมีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครอง
บังคับบัญชาบรรดาข้าราชการในอำเภอและรับผิดชอบการบริหาร
มาตรา ๖๗ ให้นำความในมตรา ๔๘ และ ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติราชการแทนตามหมวดนี้
มาตรา ๖๑ จังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัดเรียกว่า อำเภอ
มาตรา ๖๘ การจัดการปกครองอำเภอ นอกจากที่ได้บัญญัติไว้ใน
พระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่
ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
มาตรา ๗๑/๔ นอกจากการพ้นจาก
ตำแหน่งตามวาระกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
ตามมาตรา ๗๑/๒
(๑) ตาย
(๔) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่
มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ
มาตรา ๗๑/๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี
ผู้ซึ่งพ้นจากตำแหน่งแล้ว อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๗๑/๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
(๓) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกเว้นแต่เป็นโทษที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๔) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๒) ไม่เป็นคนล้มละลาย ไร้ความสามารถ เสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยถูกไล่หรือปลดออกหรือให้ออกจากราชการ
(๑) มีสัญชาติไทย
มาตรา ๗๑/๑ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
คณะหนึ่ง เรียกย่อว่า ก . พ . ร . ประกอบด้วย
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายก ฯ ที่นายกมอบหมาย
เป็นประธาน และรัฐมนตรีที่นายกกำหนดเป็นรองประธาน
มาตรา ๗๑/๕ กรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้
มาตรา ๗๑/๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างให้กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับแต่งตั้งมีวาระดำรงตำแหน่งเท่ากับเวลาที่เหลืออยู่ของกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒืที่ยังอยู่ในตำแหน่ง
มาตรา ๗๑/๗ การประชุม ก . พ . ร . ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชมไม่ว่ากรรมการดังกล่าวจะเป็น
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ทำงานเต็มเวลาหรือไม่
มาตรา ๗๑/๘ การปฏิบัติหน้าที่และค่าตอบแทนของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ต้องทำงานเต็มเวลาให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๗๑/๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
ทำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก . พ . ร . และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือ ก . พ . ร . กำหนด
โดยมีเลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ
ราชการและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๗๑/๑๐ ก . พ . ร . มีอำนาจหน้าที่
ส่วนที่ ๓ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๗๐ ให้จัดระเบียบ
บริหารราชการส่วนท้องถิ่น
(๒) เทศบาล
(๓) สุขาภิบาล
(๑) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(๔) ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา ๗๑ การจัดระเบียบการปกครององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล
และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กฎหมายกำหนด ให้เป็นไปตามกฎหมายวว่าด้วยการนั้น
มาตรา ๖๙ ท้องถิ่นใดที่เห็นสมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครอง
ท้องถิ่นให้จัดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
(การรวมอำนาจ)
หมวด ๔ การจัดระเบียบราชการในกรม
มาตรา ๓๔ กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษจะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่
ออกเป็นเขตเพื่อให้หัวหน้าส่วนราชการปฏิบัติงานได้
มาตรา ๓๕ กระทรวง ทบวงหรือกรมใดโดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจ
ราชการของกระทรวง ทบวงหรือกรมนั้นก็ให้กระทำได้
มาตรา ๓๓ สำนักงานเลขานุการกรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรม
มาตรา ๓๖ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นผู้อำนวยการซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวง
หรืออธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
มาตรา ๓๒ กรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง
มาตรา ๓๗ ให้นำความในมาตรา ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ และ๓๕มาใช้บังคับ
แก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมโดยอนุโลม
มาตรา ๓๑ กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
หมวด ๑ การจัดระเบียบราชการ
ในสำนักนายกรัฐมนตรี
(มาตรา ๙-๑๗)
สำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกระทรวง
ส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกรม
มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล
หมวด ๓ การจัดระเบียบราชการในทบวง
ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
มาตรา ๒๗ ทบวงหนึ่งมีรัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้อราชการ
มาตรา ๒๘ นอกจากรัฐมนตรีว่าการทบวงและรัฐมนตรีช่วยแล้ว
ให้ปลัดทบวงมีอำนาจหน้าที่ด้วยเช่นกัน
มาตรา ๒๖ การจัดระเบียบราชการในทบวงให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๒๙ มีเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการของสำนักนายกรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการทบวง
มาตรา ๒๕ ราชการส่วนใดสภาพไม่เหมาะสมที่จะตั้งเป็นกระทรวง
จะจัดตั้งเป็นทบวงสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
มาตรา ๓๐ สำนักปลัดทบวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของทบวง
หมวด ๒ การจัดระเบียบราชการ
ในกระทรวงหรือทบวง
มาตรา ๑๘ ให้จัดระเบียบราชการของกระทรวง
กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออื่น
สำนักงานปลัดกระทรวง
สำงานรัฐมนตรี
มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
มาตรา ๑๙ กระทรวงมีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๒๑ ในกระทรวงให้ปลัดกระทรวงมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๒ สำนักงานรัฐมนตรีมีเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
มาตรา ๒๓ สำนักงานปลัดกระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป
มาตรา ๒๔ การจัดระเบียบราชการในทบวงเทียบเท่ากระทรวง
หมวด ๕ การปฏิบัติราชการแทน
(มาตรา ๓๘-๔๐)
ให้ผู้มอบอำนาจพิจารณาถึงการอำนวยความสะดวก
แก่ประชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการภายในกรม
ถ้าการปฏิบัติราชใดของส่วนราชการนั้นมีลักษณะ
เป็นงานการให้บริการหรือการให้บริการเกี่ยวเนื่องอยู่ด้วย
หมวด ๖ การรักษาราชการแทน
มาตรา ๔๕ ให้นำความมาตรา ๔๔ มาใช้บังคับกรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งปลัดทบวง
มาตรา ๔๖ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งอธิบดีให้รองอธิบดีเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๔ กรณีไม่มีตำแหน่งปลัดกระทรวงให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๗ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการตามมาตรา ๓๓
ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๓ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีให้ผู้ช่วยเลขา ฯ เป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๘ ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัตินี้
มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
มาตรา ๔๒ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงให้รัฐมนตรีช่วยเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๔๙ การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพรบ.ไม่กระทบกระเทือนอำนาจนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๔๑ กรณีนายก ฯไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้รองนายกฯปฏิบัติแทน
มาตรา ๕๐ ความในหมวดนี้มิให้ใช้บังคับแก่ราชการในกระทรวงที่เกี่ยวกับทหาร
หมวด ๗ การบริหารราชการในต่างประเทศ
มาตรา ๕๐/๓ กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง
หัวหน้าคณะผู้แทนให้รองหัวหน้าคณะ
รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๐/๖ การที่กระทรวง ทบวง กรมจะมอบอำนาจหรือ
มีคำสั่งใดที่เกี่ยวข้องไปยังหัวหน้าคณะผู้แทน
ให้แจ้งผ่านกระทรวงการต่างประเทศ
มาตรา ๕๐/๒ ให้หัวหน้าคณะผู้แทน
เป็นผู้รับคำสั่งจากนายกรัฐมนตรี
ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๗๓ พระราชกฤษฎีกาและประกาศของคณะปฏิวัติเกี่ยวกับการจัดระเบียบในสำนักงานรัฐมนตรี
ด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่พรบ.นี้ใช้บังคับให้คงบังคับใช้ต่อไปเท่าที่
ไม่ขัดแย้งกับพรบ.นี้จนกว่าจะมีพระราชกฤษฎีกาใช้บังคับแทน
มาตรา ๗๔ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานรัฐมนตรีและกรมหรือส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่ย กรมใดยังมิได้ระบุอำนาจหน้าที่ไว้ตามมาตรา ๘ วรรคสี่ ให้ดำเนินการแก้ไขให้
เสร็จสิ้นภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๗๒ คำว่า ทบวงการเมือง ให้หมายความถึงกระทรวง ทบวง กรม ตามพรบ.นี้แล้วแต่กรณี
มาตรา ๗๕ บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่งใดอ้างถึง ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘
ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ . ศ . ๒๕๑๕ หรืออ้างถึงบทบัญญัติแห่ง ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่
๒๙ กันยายน พ . ศ . ๒๕๑๕ ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคำสั่งนั้น อ้างถึงพรบ .นี้
หรือบทบัญญัติแห่งพรบ .นี้ในบทมาตราที่มีนัยเช่นเดียวกัน แล้วแต่กรณี
นางสาวสาธิตา หลอมประโคน รหัส ๐๕๓
สาขาวิชาภาษาไทย หมู่ ๒ คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔