Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นักทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน…
นักทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การใช้เทคโนโลยีในการจัดการศึกษา
Michael Hammer :check:
ประวัติส่วนตัว
เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1948 เป็นวิศวกรชาวอเมริกัน นักเขียนด้านการจัดการ และอดีตศาสตราจารย์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT)
ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในผู้ก่อตั้งทฤษฎีการจัดการกระบวนการทางธุรกิจ คุณภาพทั่วทั้งองค์การ หรือ Total Quality Management (TQM)
หลักการ 3 C
ลูกค้า (Customer)
การแข่งขัน (Competitions)
การเปลี่ยนแปลง (Change)
การรื้อระบบแนวคิดเกี่ยวกับการ Re-Engineering
รูปแบบการนำกระบวนการจัดการใหม่มาแทนกระบวนการที่ใช้อยู่เดิมอย่างถอนรากถอนโคน
เป้าหมายในการปรับรื้อระบบ
RETHINK
REDESIGN
RETOOLS
REHUMANEERING
หลักการของรีเอนจีเนียริ่ง
ต้องไม่ยึดติดอยู่กับหลักการต่างๆและแนวคิดเดิม
ต้องทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของใหม่ทั้งหมด
ต้องให้เกิดการการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่มโหฬาร
ต้องเน้นที่กระบวนการทำงานโดยใช้บุคลากรน้อยที่สุด
ต้องนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในกระบวนการทำงาน
ต้องกำหนดตัวชี้วัดผลการปฎิบัติงานให้ชัดเจน
ต้องจัดการบังคับบัญชาในองค์กรให้สั้นลง โดยจัดองค์กรเป็นแนวราบ
ต้องเน้นการให้ความสำคัญกับเจ้าหน้าที่ระดับปฎิบัติการ
ธนาคารที่นำหลัก Reenginrring มาใช้ในการบริหารจัดการ ธนาคารกสิกรไทย
การบริหารการศึกษาของการปรับรื้อระบบ
ด้านการลงทุน
ด้านคุณภาพทางการศึกษา
ด้านการให้บริการ
ด้านความสำเร็จ
การปรับรื้อระบบที่เป็นปัจจัยหลักของความสำเร็จก็คือการปรับรื้อของของผู้บริหาร ให้มีวิสัยทัศน์และบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับยุคโลกาภิวัฒน์
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ความเป็นมาและความหมาย
ได้รับอิทธิพลมาจาการธุรกรกิจและอุตสาหกรรมที่ประสบผลสำเร็จ
โดยเน้นให้มีการทำงานแบบมีส่วนร่วมและมอบอำนาจให้มีความเบ็ดเสร็จที่สาขา
โดยมุ่งปรับระบบโครงสร้างการบริหารโรงเรียนใหม่ มีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากยิ่งขึ้น
เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นแห่งแรก
หลักการสำคัญในการบริหารแบบ (SBM)
หลักการกระจายอำนาจ
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน
หลักการบริหารตนเอง
หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล
รูปแบบการบริหาร
รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก
รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก
รูปแบบที่มีชุมนมีบทบาทเป็นหลัก
รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทเป็นหลัก
กลยุทธ์ในการนำรูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง
กำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาให้ชัดเจนการสรรหา
การพัฒนาคณะกรรมการสถานศึกษา
การคัดเลือกกรรมการสถานศึกษา
สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาปฎิบัติหน้าที่ร่วมกับคณะกรรมสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด
จัดให้มีเครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษา
การกำหนดมาตรฐานการดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
พิจารราให้สวัสดิการ บริการและสิทธิพิเศษแก่คณะกรรมการสถานศึกษา
ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จของการบริหาร
การกระจายอำนาจให้แก่โรงเรียนอย่างแท้จริง
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การพัฒนาบุคลากร
ผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้ความสามารถ
การใช้สารสนเทศเพื่อการบริหาร
วิสัยทัศน์ร่วมที่ชัดเจน
การให้รางวัลอย่างสม่ำเสมอ
ลักษณะสำคัญของโรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
มีการพัฒนาทั้งระบบอย่างต่อเนื่อง
ผู้นำมีการกระตุ้นบุคลากรในโรงเรียน
ผู้บริหารมีการบริหารงานแบบเกื้อหนุน
การบริหารเชิงกลยุทธ์ เน้นการแก้ปัญหาได้ทันการ
บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียน
เน้นการทำงานเป็นทีม
ผู้ปกครองมีส่วนในการสนับสนุนโรงเรียนอย่างเต็มที่
ประเมินผลทั้งระบบ
KAORU ISHIKAWA
นำแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพมาจากจูรานและเดมมิ่ง มีส่วนทำให้คนญี่ปุ่นเข้าใจระบบคุณภาพมากขึ้น
บิดาของกลุ่มคุณภาพหรือเครือข่ายคุณภาพ (The Father of quality circles)
ผู้คิดค้นแผนผังก้างปลา (Fishbone Diagram) เป็นเครื่องมือในการวิเคาระห์ปัญหาและสาเหตุเพื่อให้กลุ่มคุณภาพในการปรับปรุงคุณภาพ แผนผังนี้เรียกว่า "แผนผังอิชิกาวา"เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
จุดกำเนิดแผนภูมิรูปก้างปลา โดยมีเหตุหลัก 4 ประการในการใช้ผังก้างปลา
การแสดงความสัมพันธ์
แสดงสาเหตุทั้งหมดพร้อมกัน
อำนวยความสะดวกในการระดมความคิด
ช่วยรักษาโฟกัส
แผนภูมิก้างปลา (Fishbone Diagram)
ข้อดี เป็นแผนภูมิที่ค่อนข้างใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช่งานได้อย่างรวดเร็ว เห็นถึงความสัมพันธ์ของเหตุและผลของข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ
ข้อจำกัด กระบวนการระดมความสามารถก่อให้เกิดสาเหตุที่เป็นไปได้ที่ไม่เกี่ยวข้องพร้อมกับสาเหตุที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก อาจทำให้เกิดความสับสนและเวลา
หลักการใช้แผนภูมิก้างปลา
Product- (สินค้า)
Price (ราคา)
Place (สถานที่)
Promotion (โปรโมชั่น)
กรอบความคิดในการทำกลยุทธ์ทางการตลาดที่พิจารณา
วิจัยที่เกี่ยวข้อง เรื่่องการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนประถมศึกษา ในสำนักงานเขตทวีวัฒนา กรุงเทพหานคร
โดย นายสุวิทย์ จันทร์คงหอม
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในส่วนขององค์กร อันดับแรกต้องปรับ (Mindset) ของบุคคลในองค์กร การใช้เทคโนโลยีและการพัฒนากระบวนการทำงานหรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เราสามารถนำ AI มาเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนเพื่อนักเรียนสามารถก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ เพื่อยกระดับองค์การให้สามารถใช้งาน AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งตัวผู้บริหาร ผู้สอนและผู้เรียน