Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chickenpox & Herpes zoster - Coggle Diagram
Chickenpox & Herpes zoster
Herpes zoster
การวินิจฉัยโรคงู
วินิจฉัยจากลักษณะของผื่นเเละตุ่มน้ำเป็นสำคัญอาจมีการตรวจเพิ่มเติม ได้เเก่
การทำ Tzanck smear
การตรวจหาเชื้อโดยการย้อม immunofluorescent
วิธี polymerase chain reaction
Serologic Methods
อาการโรคงูสวัดระหว่างตั้งครรภ์
มีอาการชักนำ 48-72 hr ก่อนผื่นขึ้น ได้เเก่
มีไข้หรืออาจไม่มีไข้
อาจปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดท้อง อ่อนเพลีย
ในหญิงตั้งครรภ์ต้องเฝ้าระวังการเกิดภาวะเเทรกซ้อนที่อาจจะเกิดตามมา ได้เเก่ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ภาวะสมองอักเสบ
ผลต่อการตั้งครรภ์
1.สามารถถ่ายทอดจากเเม่สู่ทารกในครรภ์ได้ในไตรมาสเเรกของการตั้งครรภ์
2.ความรุนเเรงของโรคอาจทำให้ทารกพิการหรือเเท้งได้
3.ความเสี่ยงขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้เเก่ โรคประจำตัวของมารดา อายุครรภ์เเละความรุนแรงของโรคงูสวัด
การดูเเลตนเอง
หากสงสัยว่าเป็นโรคงูสวัดเเละกำลังตั้งครรภ์ ควรรีบไปพบเเพทย์ โดยหญิงตั้งครรภ์อาจได้รับยาต้านไวรัส
ประคบเย็นบริเวณตุ่มผื่นขึ้นบ่อยๆ
ควรสวมใส่เสื้อผ้าหลวมๆ
หมั่นเช็ดแผลให้เเห้ง ใช้ก็อซปิดแผลให้ทั่ว
บรรเทาอาการคันด้วยการทานยาเเก้เเพ้
รักษาความสะอาดของเเผล
Chickenpox
อาการโรคอีสุกอีใสระหว่างตั้งครรภ์
อาการจะมีไข้
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
ปวดเมื่อยตามตัว
มีผื่นขึ้นพร้อมๆกับวันที่เริ่มมีไข้ หรือ1วันหลังจากมีไข้
เเรกเริ่มจะขึ้นเป็นผื่นเเดงราบ
ต่อมากลายเป็นตุ่มนูน มีน้ำใสๆ เเละมีอาการคัน
การวินิจฉัย
ประวัติมารดาติดเชื้อ
การตรวจอัลตราซาวด์เด็กในท้อง
ติดตามดูภาวะความผิดปกติของกระดูก ใบหน้า และแขนขา
การเจาะตรวจน้ำคร่ำหรือการตัดชิ้นเนื้อรกไปตรวจหาเชื้อ
หรือเจาะเลือดเด็กตรวจภูมิคุ้มกัน
ผลการตรวจทางปฏิบัติการ
CBC พบ wbc 11,660/mm3 (N 50.2% L 41.8% Eo 2.2% Mo 5.6% )
Hb 19.1g/dl, Hct 54%, plt 274000/mm3
CT brain พบ marked diffuse cerebral at-rophy with multiple calcification in both cerebral hemisphere and marked CSF collection in both cerebral hemisphere parenchyma, congenital cerebral infection are possible
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
การเป็นอีสุกอีใสในผู้ใหญ่จะมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ จะมีภูมิคุ้มกันที่ลดลงจากการตั้งครรภ์ พบว่าความรุนเเรงของการ ติดเชื้ออีสุกอีใสยิ่งมากขึ้น โดยเฉพาะในระยะอายุครรภ์ใกล้ครบกำหนด จะมีปัญหาภาวะปอดอักเสบหรือปอดบวม บางรายมีอาการทาง สมอง ทำให้ซึมลง มีอาการชัก ทำให้เสียชีวิตได้ทั้งเเม่เเละทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์ :ในไตรมาสเเรก อาจทำให้ทารกเกิดความพิการก่อนกำเนิดได้ ในรายที่มีการติดเชื้อรุนแรงอาจทำให้อัตราการตายในระยะเเรกคลอดสูง
การติดเชื้อปริกำเนิด :อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก เเละช่องทางคลอด
การพยาบาลระยะหลังคลอด
วิตกกังวลกลัวลูกจะติดเชื้ออีสุอีใส
การพยาบาล
1.ประเมินอารมณ์ ความวิตกกังวลของมารดา
2.ส่งเสริมและสนับสนุนให้สามีเเละญาติดูเเลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3.ให้กำลังใจมารดาและอยู่เป็นเพื่อนผู้คลอด เป็นผู้รับฟังที่ดี เข้าใจความรูสึกของผู้คลอด
4.พูดคุยให้กำลังใจและอธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเรื่อง
การฉีดวัคซีนป้องกันอีสุกอีใสให้เเก่ทารกหลังคลอดทันที
เสี่ยงต่อการติดเชื้ออีสุกอีใส เนื่องจากทารกมีความต้านทานโรคต่ำและมารดามีภาวะติดเชื้ออีสุกอีใสซึ่งสามารถติดต่อถึงทารกได้
การพยาบาล
1.จัดสิ่งเเวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
2.เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับทารกให้สะอาดหรือปราศจากเชื้อ
3.การดูเเลตา ใช้ Terramycin eye ointment ป้ายตาทั้ง2ข้าง เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
4.การดูเเลสายสะดือ ภายหลังการตัดสายสะดือ ต้องสังเกตการมี เลือดออกทางสายสะดือ
5.ป้องกันการเเพร่ กระจายเชื้อโรคโดยล้างมืออย่างถูกวิธีก่อนและหลังการจับทารกทุกครั้ง
6.ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสแก่ทารกทันทีหลังคลอด
แยกเด็กออกจากมารดาเพื่อป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การพยาบาลระยะคลอดผู้ป่วยโรคงูสวัด
เสี่ยงต่อการคลอดระยะที่สองยาวนานเนื่องจากมารดาเหนื่อยอ่อนเพลียไม่มีแรงเบ่งและเบ่งไม่ถูกวิธี
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้สามารถเบ่งได้ถูกวิธีและช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศดำเนินไปตามปกติไม่เกิดการคลอดล่าช้า
เกณฑ์การประเมิน
1.การหดรัดตัวของมดลูกปกติ interval 2’ Duration 45-60’’ ไม่เกิน90’’
2.มารดาเบ่งคลอดอย่างถูกวิธี
3.ระยะที่2 ของการคลอดไม่เกิน1ชั่วโมง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพทั่วไปของผู้คลอด เช่น อาการอ่อนเพลีย ความไม่สุขสบาย อาการขาดน้ำ
2.จัดท่าเพื่อคลอดให้เสริมเเรงโน้มถ่วงของโลก
3.ดูเเลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
4.สังเกตเเละบันทึก Uterine Contraction เเละ FHS ทุก5นาที
5.อธิบายให้เบ่งอย่างถูกวิธี
6.ควบคุมและกระตุ้นให้เบ่งทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว
7.ช่วยเเพทย์ในการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศจนเด็กคลอดอย่างปลอดภัย