Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries)
กลไกการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บแบบงอ (Flexion injury)
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ (Hyperextension injury)
การบาดเจ็บท่างอ และหมุน
(Flexion with rotation injury)
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด
(Compression injury)
การบาดเจ็บแบบ
Penetrating injury
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การบาดเจ็บ (Trauma)
อุบัติเหตุรถยนต์ จักรยานยนต์
โดนยิง หรือถูกแทง
ตกจากที่สูง
การเล่นกีฬา
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ
(Non-traumatic disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
การอับเสบของเยื้อหุ้มไขสันหลัง
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
เนื้องอก
โรคของหลอดเลือด เช่น ขาดเลือดหรือเลือดออก
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
1.การซักประวัติ
ปวดตึงต้นคอ หรือความรู้สึกที่แขน ขาลดลง
ปวดหลังหรือปวดตามแนวกึ่งกลางหลัง จะปวดมากขึ้น ถ้าร่างกายมีการเคลื่อนไหว
ความดันโลหิตต่ำร่วมกับชีพจรช้า
มีบาดเจ็บเหนือกระดูกไหปลาร้าหรือมีบาดเจ็บที่ใบหน้า อย่างรุนแรง
ตกจากที่สูงมากกว่า 3 เท่าของความสูงของผู้ป่วยหรือ สูงมากกว่า6 เมตร
2.การตรวจร่างกาย ใช้หลัก ABCDE
การประเมินการหายใจ รวมทั้งการทำทางเดินหายใจให้โล่ง
การประเมินภาวะบวม หรือการมีเลือดออก เช่น ช่องท้อง ช่องอก หรือจากกระดูกหักส่วนอื่น
การประเมิน Glasgow’s Coma Score
การประเมินระบบประสาท เช่น sensation, perianal sensation, bulbocarvernosus reflexAmerican Spinal Injury Association (ASIA)
การตรวจทางรังสีวิทยา
Plain film เป็นการตรวจคัดกรองที่สำคัญ
Computed tomography scan (CT)
Magnetic resonance imagine (MRI)
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง ระยะเฉียบพลัน
Breathing
2.Circulation (keep MAP ≥ 85 mmHg)
3.การให้ยา
4.การดูแลระบบทางเดินหายใจ
5.การดูแลระบบทางเดินอาหารและการขับถ่ายอุจาระ
6.การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจะเกิด ภาวะneurogenic bladder
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
8.จัดหาเตียงที่เหมาะสม
การดูแลกระดูกสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ
หลักการรักษา
1.การทำให้ส่วนที่หักหรือบาดเจ็บอยู่นิ่ง (Immobilization)
2.การดึงกระดูกให้เข้าที่ (Reduction/realignment) โดย การทำ Skull traction
3.การผ่าตัด (Stabilization) :
หลักการดูแล
ระบบทางเดินหายใจ
การให้ออกซิเจนจะช่วยบรรเทาการได้รับบาดเจ็บของไขสันหลังได้ สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บในระดับ C4 ขึ้นไป อาจได้รับการพิจารณาใส่ท่อ ช่วยหายใจและเครื่องช่วยหายใจ ตามลำดับ
ในรายที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ ควรเตรียมความพร้อมเพื่อหย่าเครื่องช่วย หายใจ ตามเกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Breathing exercise
ระบบไหลเวียน
1.ประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ดูแลภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ โดยหลีกเลี่ยง การพลิก ตัวอย่างรวดเร็ว
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนภายหลังจากพ้นระยะ spinal shock
3 ระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาล
ภาวะท้องอืด (paralytic ileus)
1.ประเมินเสียง bowel sound
2.เมื่อผู้ป่วยมีภาวะท้องตึงแน่น ควรวัดรอบสะดือทุก 8 ชั่วโมง ใส่ NG tube ต่อลงถุงหรือต่อเครื่อง low intermittent suction พร้อมทั้ง บันทึกจำนวนและลักษณะของ content
3.ล้วงอุจจาระออกทุกวันเป็นเวลา 3 วันเพื่อลดแรงดันภายในลำไส้
4.งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด ดูแลให้ได้รับสารน้้ำและเกลือ แร่ทางหลอดเลือดดำทดแทน
แผลและเลือดออกในกระเพาะอาหาร
1.ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยรักษาภาวะ hypoxia ในระยะแรก ลดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อในกระเพาะอาหาร จากการใส่ NG tube ต่อลงถุงหรือ low pressure intermittent suction
2.สังเกตอาการแสดงของภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร เช่น systolic น้อยกว่า 85 mmHg, HCT และ Hb ลดลง, อาเจียนออกมาเป็นเลือดสด, coffee ground, อุจจาระเป็น melena และตรวจพบ occult blood
3.เตรียมตรวจพิเศษ เช่น gastroscopy หรือ gastric larvage
ภาวะทุพโภชนาการ
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุโภชนาการ
2.ดูแลให้ได้รับสารอาหารตามแผนการรักษา
3.กระตุ้นให้ได้รับอาหารในรายที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
4.จัดท่าในการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายยางอย่างเพียงพอ
4 ระบบทางเดินอุจจาระและภาวะลำไส้ใหญ่พิการ
ล้วงเอาอุจจาระออกจากลำไส้ใหญ่ ภายใน 2 –3 วัน
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอ วันละ 2000 ถึง3000 มิลลิลิตร
กระตุ้นผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใย
5 ระบบทางเดินปัสสาวะและภาวะกระเพาะปัสสาวะพิการ
1.การคาสายสวนเป็นสิ่งจำเป็นในระยะช็อคจากการบาดเจ็บไขสันหลัง
2.การพยาบาลเพื่อการฝึกหัดขับปัสสาวะในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
6 ระบบผิวหนัง
6 ระบบผิวหนัง
2.ให้ความรู้กับผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล และบุคลากรพยาบาลในการดูแล ผู้ป่วย
เปลี่ยนท่านอนผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอทุกๆ 2 ชั่วโมง
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยยกตัวผู้ป่วยขึ้น
5.การเลือกที่นอนหรืออุปกรณ์รองรับผู้ป่วยสำคัญมากที่สุด
1.ประเมินผิวหนังและแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยง braden
7 การดูแลด้านจิตใจ สังคม อารมณ์
ช่วยให้ผู้ป่วยรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทีละขั้นตอน
อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหลังการบาดเจ็บไขสันหลัง
อธิบายข้อมูลที่ชัดเจน และเป็นจริงในแต่ละวันเพียงเล็กน้อย จะทำให้ผู้ป่วยเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในร่างกายตนเอง
4.ให้การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลง ภาพลักษณ์ของตนเอง
ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกประสบผลสำเร็จโดยตั้งเป้าหมายในระยะสั้นๆที่ ผู้ป่วยสามารถท าได้ให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นบุคคลหนึ่ง
ส่งเสริมความเชื่ออำนาจภายในตนเองของผู้ป่วย
8 การวางแผนจำหน่าย
การเตรียมการดูแลที่บ้าน (home care preparation) เกี่ยวกับ ทักษะในการดูแลตนเอง หรือทักษะในการดูแลของผู้ดูแล
การสอนด้านสุขภาพ เช่น การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การฝึก ขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ การดูแลผิวหนัง การบริหารยา เป็นต้น
การเตรียมด้านจิตสังคม โดยการใช้โครงการ family support
การเตรียมแหล่งประโยชน์ด้านสุขภาพ เช่น ศูนย์การช่วยเหลือ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง